กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือนในเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโละจูด

พื้นที่เขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็ก 0-72 เดือนที่มีภาวะ น้ำหนักน้อย ขาดสารอาหาร

 

25.00

ทุกคนอยากมีสุขภาพดีไม่เจ็บไม่ป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้อง เหมาะใสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดีและนำไปสู่การมีสุขภพดีโภชนาการ จึงเป็นเรื่องที่สำคัญ เพราะถ้ากินอาหารเพียงพอตามวัย จะทำให้ไม่ขาดสารอาหาร โดยเฉพาะในเด็ก 0-72 เดือนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญเป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตของร่างกายอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูเป็นอย่างดี ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบโละจูด ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือนในเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา เพราะพบว่าเด็กมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เกินมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโละจูด จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหา เพราะในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2021

กำหนดเสร็จ 30/06/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 คุัดกรองเพื่อหาเด็กที่มีภาวะเสี่ยงโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง นำมาแปรผล

ชื่อกิจกรรม
คุัดกรองเพื่อหาเด็กที่มีภาวะเสี่ยงโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง นำมาแปรผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 1 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีเด็ก 0-72 เดือนทีมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ85

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 สาธิตอาหารทีมีประโยชน์ให้กับผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะเสียง

ชื่อกิจกรรม
สาธิตอาหารทีมีประโยชน์ให้กับผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะเสียง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.2 x2 เมตร x 1 ผื่น      เป็นเงิน      600.-   บาท
  • ค่าวัสดุอุปกรณืในการสาธิตอาหาร                         เป็นเงิน   3,150.-    บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มิถุนายน 2564 ถึง 2 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองเด็กสามารถทำอาหารทีมีประโยชน์ให้กับเด็กได้ร้อยละ 60

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3750.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามส่งเสริมด้านโภชนาการอาหารเสริมธาตุเหล็ก(ไข่ไก่)

ชื่อกิจกรรม
ติดตามส่งเสริมด้านโภชนาการอาหารเสริมธาตุเหล็ก(ไข่ไก่)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารเสริมธาตุเหล็ก(ไข่ไก่)       ไข่ไก่ จำนวน 50 แผงๆละ  95  บาท    เป็นเงิน   4,750.-  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มิถุนายน 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กที่มีภาวะเสี่ยงจะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 50

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4750.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็ก 0-72 เดือนมีน้ำหนักตามเกณฑ์ร้อยละ 85
2.ผู้ปกครองเด็กสามารถทำอาหารที่มีประโยชน์ให้กับเด็กได้ร้อยละ 60
3. เด็กที่มีภาวะเสี่ยงมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 50


>