กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการค้นหาวัณโรครายใหม่และดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน ประจำปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.เมาะลาแต

1.นายวิโรจน์ มิตทจันทร์
2.นางสาวรอมือล๊ะ กะเส็มมิ
3.นางสาวนูรีฮ๊ะและปายัง
4.นางสาวมารีเย๊าะมะและ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะลาแต

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

วัณโรค (tuberculosis:TB) เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุขของประเทศไทยเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดผลผลเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก เป็นสาเหตุของการป่วย และการเสียชีวิต มีปัจจัยหลายอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน และการขยายงานในการควบคุมวัณโรค ทั้งปัจจัยทางด้านผู้ป่วย สิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจเช่นความยากจนด้อยโอกาสทางการศึกษาชุมชนแออัด ปัญหายาเสพติด ในส่วนอำเภอสะบ้าย้อย พบว่า การค้นพบผู้ป่วยเพื่อขึ้นทะเบียนวัณผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำทุกปี 2561-2563 คิดเป็นร้อยละ 33.33,46.49 และ 57.5 และ 86.33 ตามลำดับ ผลการรักษาสำเร็จ คิดเป็นร้อยละ 82.60,86.90และ88.20 ซึ่งยังพบว่าการค้นหาวัณโรครายใหม่ ยังไม่บรรลุเป้าหมายซึ่งต้องเร่งรัดในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงต่าง ๆ ให้ครอบคลุม รวมทั้งการทำงานแบบผสมผสานวัณโรคอย่างจริงจัง เพื่อลดอัตราการตายของผู้ป่วย ความสำคัญของการแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชน โดยการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องวัณโรคแก่ชุมชน การพัฒนาศักยภาพของ อสม. และเครือข่าย เพื่อดำเนินการเร่งรัด ดังนั้นเพื่อผลสำเร็จในการดำเนินการดังกล่าว จึงจัดทำโครงการค้นหาวัณโรครายใหม่และดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน เพื่อให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย จึงต้องมีส่วนร่วมในการป้องกันวัณโรค ของทุกภาคส่วนเพื่อให้เกิดการทำงานแบบยั่งยืนต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตุอาการของโรควัณโรค

ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากติดเชื้อวัณโรค ร้อยละ80

90.00 80.00
2 เพื่อคัดกรองวัณโรคในกลุ่มประชากรกลุ่มเสี่ยง

ได้ทราบผู้ป่วยที่เป็นวัณโรค และรักษาได้ตั้งแต่เริ่มต้น

80.00 70.00
3 เพื่อพัฒนาระบบติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและส่งต่อผู้ป่วย

ได้ทราบจำนวนผู้ป่วยที่ชัดเจนขึ้น และส่งต่อผู้ป่วยเข้ารับการรักษาได้ทัน มีโอกาสหายมากขึ้น

70.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 09/02/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการค้นหาวัณโรครายใหม่และดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
โครงการค้นหาวัณโรครายใหม่และดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ เรื่องวัณโรค -ชี้แจงนโยบายเร่งรัดหยุดยั้ง วัณโรค -ให้ความรู้เรื่องวัณโรค และการป้องกันวัณโรค -ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผ่านสื่อ 2.คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง -คัดกรองโดยวิธีเอกซเรย์เคลื่อนที่ 3.พัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรค -ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคที่บ้านร่วมกับทีมเครือข่ายชุมชน ค่าใช้จ่าย ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ เรื่องวัณโรค -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท จำนวน 50 คน จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,250.-บาท -แผ่นพับให้ความรู้ 50 แผ่น ๆ ละ 2 บาท เป็นเงิน 100 บาท -ป้ายประชาสัมพันธ์ 1 แผ่นๆละ 380 บาท กิจกรรมที่ 2 คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง โดยวิธีเอกเรย์เคลื่อนที่และให้ความรู้เรื่องวัณโรค -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงิน 1,000.- บาท -ค่าเอกเรย์ 100 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงิน 4,000.-บาท -ค่าเอกสาร แบบฟอร์มการคัดกรองจำนวน 40 ชุด ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 200.-บาท -ค่าจัดทำป้ายโครงการ ขนาด 1.2*2.4 เมตร เป็นเงิน 547.-บาท
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรค -ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคที่บ้านร่วมกับทีมเครือข่าย -กระเป๋าผ้าใส่ยาวัณโรค 21 ใบ ๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1,050.-บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 8,527.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.มีผู้เข้าร่วมอบรมตามกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100 2.ผู้เข้าร่วมอบรมผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ ร้อยละ 80 3.ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค ร้อยละ 80 4.ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 100 5.ภาคีเครือข่ายในชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานเฝ้าระวัง คัดกรองกลุ่มเสียง และดูแลกลุ่มป่วย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8527.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,527.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพอจำนวน 8,572 บาท รายละเอียดดังนี้
กิจกรรมที่1 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ เรื่องวัณโรค
1.1 ให้ความรู้ประชาชน ชี้แจ้งนโยบายเร่งรัดหยุดยั้ง วัณโรค
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25บาท*50คน*1มื้อ เป็นเงิน 1,250 บาท
-แผ่นพับให้ความรู้ 50 แผ่นๆละ2บาท เป็นเงิน100 บาท
-ป้ายประชาสัมพันธ์ 1 แผ่นๆละ 380 บาท
รวมเงิน 1,730 บาท
กิจกรรมที่ 2 คัดกรองวัณโรคกลุ่มเสี่ยง
2.1 คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง โดยวิธี เอกซเรย์เคลื่อนที่และให้ความรู้เรื่องวัณโรค
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25บาท*40 คน*1มื้อ เป็นเงิน 1,000 บาท
-ค่าเอกซเรย์ 100 บาท*40คน เป็นเงิน 4,000 บาท
-ค่าเอกสารแบบฟอร์มการคัดกรอง 40 ชุดๆละ 5 บาทเป็นเงิน 200 บาท
-ค่าจัดทำป้ายโครงการ ขนาด 1.2*2.5 เมตร เป็นเงิน 547 บาท
รวมเงินเป็น 5,747
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรค
3.1 ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคที่บ้านร่วมกับทีมเครื่อข่ายชุมชน
-กระเป๋าผ้าใช้ใส่ยาวัณโรค 21 ใบๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1,050 บาท
รวมเงินเป็น 1,050 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 8,527 บาท

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 มีผู้เข้าร่วมอบรมตามกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100
2 ผู้เข้าร่วมอบรมทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ร้อยละ 80
3 ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค รั้อยละ 80
4 ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการเยี่ยมบ้่าน ร้อยละ 100
5 ภาคีเครือข่ายในชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานเฝ้าระวัง คัดกรองกลุ่มเสี่ยง และดูแลกลุ่มป่วย


>