กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการใส่ใจภายใน ห่วงใยสตรี ตรวจถึงบ้าน บริการถิ่งถิ่น คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ประจำปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.ตำบลเมาะลาแต

1.นายวิโรจน์ มิตทจันทร์
2.นางสาวรอมือละ กะเส็มมิ
3.นางสาวนูรีฮ๊ะ มะและ
4.นางสาวมารีเย๊าะ มะและ

ห้องประชุม รพ.สต.เมาะลาแต

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

 

60.00

หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เป็นสาเหตุจากการตายจากโรคมะเร็งของสตรีในประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญโดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรี พบได้ถึง 3 คน ในประชากรหนึ่งแสนคน ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก เสียชีวิต ประมาณ 4,500 ราย ส่วนใหญ่อายุประมาณ 30-50 ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูก ด้วยการตรวจ pep smaer และหากทำทุก 2 ปี สามารถลดการเป็นมะเร็งระยะลุกลามได้92% ถึงแม้กระบวนการตรวจ เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่ายและสะดวก ราคาถูกแต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการตรวจ pep smaer ส่วนโรคมะเร็งเต้านมผู้ป่วยมักไม่มีอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่จะต้องตรวจค้นหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นสามารถรักษาให้หายขาดได้และการรักษาตัดเฉพาะก้อนเนื้อมะเร็งออกไปการคัดกรองมะเร็งในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ในเขตพื้นที่ รพ.สต.เมาะลาแต พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2562-2563 ร้อยละ 74 พบผู้ที่มีเซลล์ผิดปกติ 1 คนและกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านม 99 พบมีความผิดปกติ 1 คน จากข้อมูลดังกล่าว กลุ่มคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ยังไม่เข้ารับการตรวจจะเป็นกลุ่มยากต่อการติดตามเข้ารับบริการ ดังนั้น ชมรม อสม.รพสต.เมาะลาแตจึงจัดทำโครงการใสใจภายใน ห่วงใยสตรี ตรวจถึงบ้านบริการถึงถิ่น คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านมปี 2564 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างเสริมพฤติกรรมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมโดยเชิญเจ้าหน้าที่ รพ.สต.เมาะลาแตเป็นผู้คัดกรอง เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี pap smear
2 เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจเต้านมด้วยตนเองโดยผ่านการ ประเมินจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
3 เพื่อค้นหาโรงมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก และผู้ป่วยได้รับการส่งต่อ รักษาอย่างถูกต้อง ต่อเนื่อง และทันท่วงทีโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ 30-60 ปี 235

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 09/02/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการใสใจภายใน ห่วงใยสตรี ตรวจถึงบ้าน บริการถึงถิ่น คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม

ชื่อกิจกรรม
โครงการใสใจภายใน ห่วงใยสตรี ตรวจถึงบ้าน บริการถึงถิ่น คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมเจ้าหน้าที่ 2.จัดทำทเเบียนกลุ่มเป้าหมาย 3.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ 4.ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง 5.ประชาสัมพันธ์โครงการ ขั้นการดำเนินการ 1.จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีกลุ่มเป้าหมาย 2.ประชุมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและสอนทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง 3.ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ
4.เจ้าหน้าที่ให้ความรู้สอนทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย 5.จัดกลุ่มเป้าหมายให้ไปรับบริการที่คลีนิคคัดกรองมะเร็ง 6.แจ้งผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่ผู้รับบริการ 7.ติดตามและส่งต่อ กลุ่มเป้าหมายที่มีความผิดปกติ 8.ประเมินผลการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในโครงการ
-ผ้าถุงสำหรับการเปลี่ยนในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 235 ผืนๆละ100 บาท เป็นเงิน 23,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.สตรีอายุ 30-60 ปีที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 2.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,500.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณสนับสนุนสำนักงานหลักประกันสาธารณสุขตำบลทุ่งพอ รายละเอียดดังนี้
-ผ้าถุงสำหรับการเปลี่ยนในหารตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 235 ผืน ๆละ 100 บาท
เป็นเงิน 23,500 บาท

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 สตรีอายุ 30-60 ปี ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายการคัดกรองมะเร๊งปาสกมดลูก
2 กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ซึ่่งเป็นแกนนำหลักของเครือข่ายสุขภาพเพื่อคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ได้รับการพัฒนาทักษะการสื่อสารด้วยรูปแบบอันตรภาษาเพื่อให้สามารถดำเนินงานเชิญรุกในการติดตามและเชิญชวนให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตัดสินใจเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก


>