กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โพนสูง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โพนสูง

รพ.สต.บ้านหนองอุมลัว

กลุ่มประชาชน35ปีขึ้นไป

จำนวน8หมู่บ้าน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

10.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่

 

8.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานลดลง

10.00 5.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 2,644
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองเบาหวานและความดัน

ชื่อกิจกรรม
การคัดกรองเบาหวานและความดัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.๑ ประชุมชี้แจง อสม. ทบทวนทักษะการวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว และการแปรผล ๑.๒ อสม.คัดกรองตามแบบคัดกรองด้วยวาจา ในกลุ่ม อายุ ๑๕-๓๔ ปีและ ๓๕ ปีขึ้นไป ๑.๓  นำข้อมูลตามแบบคัดกรองด้วยวาจา ของกลุ่ม ๑๕-๓๔ ปี มาประมวลผลความเสี่ยง และโอกาสเสี่ยง พร้อมให้ความรู้และแนะนำการปฏิบัติตัวและลดโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคแก่กลุ่มเป้าหมาย ในพื้นที่แต่ละหมู่บ้าน ร่วมกับเครือข่ายสุขภาพ ได้แก่ อสม. และผู้นำชุมชน ผู้นำทางศาสนา ครู และครูผู้ดูแลเด็ก เป็นต้น พร้อมส่งเสริมให้มีกิจกรรมออกกำลังกาย และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไปในทางที่ถูกต้อง ๑.๔ เจ้าหน้าที่และ อสม. ผู้บนำชุมชน ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และร่วมออกคัดกรอง ค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงในหมู่บ้าน ในกลุ่ม ๓๕ ปีขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยง๑๕-๓๔ปี จากการคัดกรองตามแบบคัดกรองด้วยวาจา ด้วยการเจาะเลือดที่ปลายนิ้วตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด และในรายที่มีระดับน้ำตาลเกิน ๑๐๐ มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ เจาะเลือดส่งตรวจ FBSที่โรงพยาบาลซ้ำอีกรอบ ๑.๕ เจ้าหน้าที่และ อสม.แจ้งผลการตรวจคัดกรอง และให้คำแนะนำปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ๑.๖ จัดระบบ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย เข้าระบบบริการและประสานงานกับเครือข่าบริการ ในการส่งต่อ ๑.๗ สรุปผลการดำเนินงานและประเมินผล เพื่อวางแผนการดำเนินงานในปีต่อไปพร้อมกับคืนข้อมูลให้ชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.  ประชาชนอายุ ๑๕-๓๔ ปี ที่พบความเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงทุกคน ๒.  ประชากรกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๕ ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงมากกว่า ร้อยละ๙๐ ๓.  อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้รับการพัฒนาทักษะ ในการคัดกรอง เบาหวานและความดัน โลหิตสูง ร่วมกับทีมสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
49744.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 49,744.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ประชาชนอายุ ๑๕-๓๔ ปี ที่พบความเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงทุกคน
๒. ประชากรกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๕ ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงมากกว่า ร้อยละ๙๐
๓. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้รับการพัฒนาทักษะ ในการคัดกรอง เบาหวานและความดัน
โลหิตสูง ร่วมกับทีมสุขภาพ


>