กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน โรงเรียนบ้านคลองประดู่

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง

โรงเรียนบ้านคลองประดู่

นายประเดิมโบพรหม

โรงเรียนบ้านคลองประดู่ หมู่ที่ 4

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานความปลอดภัยทางถนน , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่า ปลอดภัย และถูกหลักโภชนาการ

 

60.00
2 เพื่อเพิ่มร้อยละของโรงเรียนจัดโภชนาการในโรงเรียนให้สะอาด ปลอดภัย และถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล

 

70.00
3 เพื่อเพิ่มร้อยละของผู้ปกครองและชุมชนปลอดภัยจากการบริโภคอาหารและปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล

 

100.00
4 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะสูงดีสมส่วน

 

80.00
5 เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร เกิดความตระหนักและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

100.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะสูงดีสมส่วน

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะสูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้น

80.00 85.00
2 เพิ่มร้อยละนักเรียนมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่า ปลอดภัย และถูกหลักโภชนาการ

ร้อยละนักเรียนมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่า ปลอดภัย และถูกหลักโภชนาการ เพิ่มขึ้น

60.00 70.00
3 ร้อยละของโรงเรียนจัดโภชนาการในโรงเรียนให้สะอาด ปลอดภัย และถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล

ร้อยละของโรงเรียนจัดโภชนาการในโรงเรียนให้สะอาด ปลอดภัย และถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล เพิ่มขึ้น

70.00 80.00
4 ร้อยละของผู้ปกครองและชุมชนปลอดภัยจากการบริโภคอาหารและปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล

ร้อยละของผู้ปกครองและชุมชนปลอดภัยจากการบริโภคอาหารและปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล  เพิ่มขึ้น

100.00 120.00
5 ร้อยละของนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร เกิดความตระหนักและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

ร้อยละของนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร เกิดความตระหนักและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพิ่มขึ้น

100.00 120.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 130
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ปกครอง 100

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ขับขี่ปลอดภัย ถนนสีขาว

ชื่อกิจกรรม
ขับขี่ปลอดภัย ถนนสีขาว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมวางแผนการทำงาน/แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการติดต่อวิทยากร ดำเนินการจัดหาอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม ดำเนินงานตามกิจกรรมโดยแบ่งเป็น จำนวน 3 ฐาน ค่าวิทยากร จำนวน 6 คน คนละ 600 คือ 6x600 = 3600 บาท อาหารว่าง 130x35 = 4550 บาท
ค่าอาหารเที่ยงวิทยากร จำนวน 6 คน คนละ 70 บาท าท6x70 = 420 บาท วัสดุประกอบการเรียนรู้ (กระดาษบรู๊ฟ ปากกาเคมี กระดาษกาวย่น กาว 2 หน้า) 3000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 เมษายน 2564 ถึง 5 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนมีความเข้าใจความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร เกิดความตระหนักและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11570.00

กิจกรรมที่ 2 โรงเรียนปลอดขยะ

ชื่อกิจกรรม
โรงเรียนปลอดขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการจัดการขยะด้วยหลัก 3Rs
2.นักเรียนคัดแยกขยะทุกวันอังคาร
3.นักเรียนแต่ละชั้นเรียนคัดแยกขยะก่อนทิ้ง บิดก่อนหย่อน
4.นำขยะอินทรีย์ ใบไม้ ทำปุ๋ยหมักชีวภาพ รดต้นไม้
5.สรุปประเมินผล/รายงานหน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าวิทยกรจำนวน 1 คน 3 ชั่วโมง1800 บาท ค่าอาหารว่าง จำนวน 130 คน คนละ 35 บาท = 130x35 =4,550 บาท ค่าอุปกรณ์สาธิตและวัสดุอุปกรณ์1500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียน ครู ชุมชน มีความรู้การแก้ปัญหาขยะ ตระหนักถึงผลกระทบในเรื่องสุขภาพของตนเองและชุมชน สิ่งแวดล้อม รู้วิธีคัดแยกขยะ การนำขยะมาใช้ให้เกิดประโยชน์และคุณค่า ลดการใช้ขยะที่ก่อให้เกิดมลภาวะ โรงเรียนมีขยะน้อยละครูนักเรียนและชุมชนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตดีมีคุณภาพชีวิตที่ดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7850.00

กิจกรรมที่ 3 อาหารปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
อาหารปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมวางแผนการทำงาน/แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการจัดหาอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม
ท่อพีวีซี ขนาด 1.4 นิ้ว จำนวน 30 เส้นๆ ละ 135 บาท
ข้อต่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 30 อันๆ ละ 15 บาท ข้อต่อสปริงเกอร์ จำนวน 10 อันๆ ละ 165 บาท ท่อ LDPE จำนวน 2 ม้วนๆ ละ 1,000 บาท บัวรดน้ำ จำนวน 10 อันๆ ละ 70 บาท พลั่วพรวนดิน จำนวน 20 อันๆ ละ 30 บาท ปุ๋ยคอก จำนวน 50 กระสอบๆ ละ35 บาท จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์กิจกรรม ขนาด 1.20 X 2.40 ตารางเมตร จำนวน 1 ป้าย 500 บาท เมล็ดพันธุ์ผักบุ้ง จำนวน 1 กิโลกรัมๆ ละ 150 บาท เมล็ดพันธุ์ผักกวางตุ้ง จำนวน 20 ซองๆ ละ 25 บาท เมล็ดพันธุ์มะเขือยาว จำนวน 20 ซองๆ ละ 25 บาท เมล็ดพันธุ์มะเขือเปราะ จำนวน 20 ซองๆ ละ 25 บาท เมล็ดพันธ์ุพริก จำนวน 7 ซองๆ ละ 25 บาท เมล็ดพันธุ์ถั่วพู จำนวน 15 ซองๆ ละ 25 บาท เมล็ดพันธุ์มะละกอ จำนวน 4 ซองๆ ละ 25 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนมีความรู้และมีความตระหนักในการปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมี 2.นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลอดภัย 3.นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เเละมีความตระหนักในการปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมี เลือกบริโภคผักที่ปลอดภัยเเละมีรายได้ระหว่างเรียน เฉลี่ยร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17100.00

กิจกรรมที่ 4 วัยใส ห่างไกลยาเสพติด

ชื่อกิจกรรม
วัยใส ห่างไกลยาเสพติด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมวางแผนการทำงาน/แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการติดต่อวิทยากร ดำเนินการจัดหาอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม ดำเนินงานตามกิจกรรมโดยแบ่งเป็น จำนวน 3 ฐาน ค่าวิทยากร จำนวน 3 คน ชั่วโมงคนละ 600 คือ 3x1800 = 5400 บาท อาหารว่าง 130x35 = 4550 บาท
ค่าอาหารเที่ยงวิทยากร จำนวน 6 คน คนละ 70 บาท าท  3x70 = 210 บาท วัสดุประกอบการเรียนรู้ (กระดาษบรู๊ฟ ปากกาเคมี กระดาษกาวย่น กาว 2 หน้า) 2000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มิถุนายน 2564 ถึง 18 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย 2.นักเรียนมีภูมิคุ้มกันห่างไกลจากยาเสพติด 3.ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12160.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 48,680.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนมีความเข้าใจความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร เกิดความตระหนักและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
2.นักเรียนมีความรู้และมีความตระหนักในการปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมี
3.นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลอดภัย
4.นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เเละมีความตระหนักในการปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมี เลือกบริโภคผักที่ปลอดภัยเเละมีรายได้ระหว่างเรียน เฉลี่ยร้อยละ 80
5.นักเรียน ครู ชุมชน มีความรู้การแก้ปัญหาขยะ ตระหนักถึงผลกระทบในเรื่องสุขภาพของตนเองและชุมชน สิ่งแวดล้อม
6.รู้วิธีคัดแยกขยะ การนำขยะมาใช้ให้เกิดประโยชน์และคุณค่า ลดการใช้ขยะที่ก่อให้เกิดมลภาวะ
7.โรงเรียนมีขยะน้อยละครูนักเรียนและชุมชนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตดีมีคุณภาพชีวิตที่ดี
8.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย
9.นักเรียนมีภูมิคุ้มกันห่างไกลจากยาเสพติด
10.ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา


>