กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการดูแลและติดตามการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านควนบ่อทอง

นางสาวนุชนาฏหยาหลี เบอร์โทรศัพท์ 086-9585520

หมู่ที่ 1 ,3,7,10,12 ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจเป็นอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ์ 3. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้อย่างถูกต้อง และเป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพได้

1.  อัตรามารดาตาย ร้อยละ 0 2.  หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100 3.  อัตราเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง 5 โรค (DM/หัวใจ/ไทรอยด์/PIH/PPH) ร้อยละ 100 4. อาสาสมัครสาธารณสุขที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 85

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มสามีของหญิงตั้งครรภ์ 20

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมจัดอบรมหญิงตั้งครรภ์และสามี 2. กิจกรรมจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมจัดอบรมหญิงตั้งครรภ์และสามี 2. กิจกรรมจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวิทยากรจำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท x 1 คน  3,600 บาท
    • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆ ละ    80 บาท x 40 คน 3,200 บาท 
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆ ละ 25 บาท x 40 คน 2,000 บาท
      รายละเอียดกิจกรรมที่ 2
    • ค่าวิทยากรจำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท x 1 คน  3,600 บาท
    • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆ ละ    80 บาท X 85 คน 6,800บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆ ละ 25 บาทx 85 คน    4,250 บาท
    • ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1x3 ตรม.ๆ ละ  150 บาท x 1 ผืน     450 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.  หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 85 2.  หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะผิดปกติต่างๆในขณะตั้งครรภ์อย่างครอบคลุมเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงต่างๆ ในระยะเริ่มแรกและได้รับการแก้ไข/ส่งต่ออย่างทันท่วงที และได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างน้อย 2 ครั้งในครรภ์ปกติและสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงจะได้รับการดูแลจากแพทย์เฉพาะทางตลอดการตั้งครรภ์
3.  อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้อย่างถูกต้อง สามารถประเมินภาวะผิดปกติและส่งต่อได้ทันท่วงที

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 85
1. 2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะผิดปกติต่างๆในขณะตั้งครรภ์อย่างครอบคลุมเพื่อค้นหา
ภาวะเสี่ยงต่างๆ ในระยะเริ่มแรกและได้รับการแก้ไข/ส่งต่ออย่างทันท่วงที และได้รับการดูแล
จากแพทย์อย่างน้อย 2 ครั้งในครรภ์ปกติและสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงจะได้รับการดูแล
จากแพทย์เฉพาะทางตลอดการตั้งครรภ์
3. อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ได้อย่างถูกต้อง สามารถประเมินภาวะผิดปกติและส่งต่อได้ทันท่วงที


>