กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดสุรา ปลอดบุหรี่ ประจำปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

สาธารณสุขฯ เทศบาลเมืองปากช่อง

กองสาธรณสุขฯ

พื้นที่ในเขตเทศบาลเมืองปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

พฤติกรรมการสูบบุหรี่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูบและคนใกล้ชิดเป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงและการเสียชีวิตของประชากรทั่วโลก 6 ล้านคนต่อปีจำแนกเป็นผู้สูบกว่า 5 ล้านคนและผู้เสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสอง 6 แสนคนองค์การอนามัยโลกได้คาดการณ์ว่าระหว่างปี 2563-2573 จะสูญเสียประชาการก่อนวัยอันควรถึงประมาณ 100 ล้านคนผู้สูบบุหรี่มีอายุสั้นลงเฉลี่ย 12 ปีอาจจะเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ถึง 20 เท่าและอาจเจ็บป่วยรุนแรงก่อนเสียชีวิต 2 ปีเนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบันทั่วโลกประสบปัญหาการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ระบุว่ากลุ่มคนที่มีการสูบบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าจะมีความเสี่ยงอาจทำให้เสียชีวิตได้มากว่าคนทั่วไปถึง 14 เท่าหากติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID-19) เนื่องจากปอดมีความอ่อนแอจากการทำร้ายด้วยบุหรี่ข้อมูลจากศูนย์ควบคุมโรคจีน (China CDC) พบว่าอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID: 19) ร้อยละ 25.5 เป็นผู้สูบบุหรี่ในประเทศไทยมีจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่เฉลี่ยวันละ 142 คนหรือชั่วโมงละ 6 คนการเสียชีวิตสร้างความสูญเสียทางเศรษกิจที่เป็นภาระจ่ายด้านสุขภาพของประเทศร้อยละ 0.78 ผลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วต่อเนื่องการเริ่มต้นสูบบุหรี่ในช่วงอายุที่น้อยส่งผลให้เกิดภาวะติดบุหรี่และยากที่จะเลิกสูบเมื่อเป็นผู้ใหญ่ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสูบบุหรี่ของเยาวชนคือเพื่อนสนิทสูบบุหรี่บุคคลในครอบครัวสูบบุหรี่การเข้าถึงบุหรี่ได้ง่ายการไม่เคร่งคัดในการบังคับใช้กฎหมายห้ามขายบุหรี่ให้เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปีจากผลการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่าเยาวชนไทยสูบบุหรี่อายุน้อยที่สุดเพียง 6 ปีพบประชากรไทยอายุ 15 – 19 ปี 55.9 ล้านคนเป็นผู้ที่สูบบุหรี่ 10.7 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 19.1 แยกเป็นประจำ 9.4 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 16.8 และสูบนาน ๆ ครั้ง 1.3 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 2.3

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงอันตรายและพิษของสุราและบุหรี่
2.เพื่อรณรงค์ให้เกิดการลด ละ เลิก สุราและบุหรี่ในกลุ่มเด็กนักเรียน
3.เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการดื่มสุราและบุหรี่
4.เพื่อสร้างกลุ่มผู้นำนักเรียนในการเป็นต้นแบบที่ดีให้กับเยาวชน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 31/03/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดสุรา ปลอดบุหรี่ ประจำปีงบประมาณ 2564

ชื่อกิจกรรม
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดสุรา ปลอดบุหรี่ ประจำปีงบประมาณ 2564
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

พฤติกรรมการสูบบุหรี่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูบและคนใกล้ชิดเป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงและการเสียชีวิตของประชากรทั่วโลก 6 ล้านคนต่อปีจำแนกเป็นผู้สูบกว่า 5 ล้านคนและผู้เสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสอง 6 แสนคนองค์การอนามัยโลกได้คาดการณ์ว่าระหว่างปี 2563-2573 จะสูญเสียประชาการก่อนวัยอันควรถึงประมาณ 100 ล้านคนผู้สูบบุหรี่มีอายุสั้นลงเฉลี่ย 12 ปีอาจจะเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ถึง 20 เท่าและอาจเจ็บป่วยรุนแรงก่อนเสียชีวิต 2 ปีเนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบันทั่วโลกประสบปัญหาการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ระบุว่ากลุ่มคนที่มีการสูบบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าจะมีความเสี่ยงอาจทำให้เสียชีวิตได้มากว่าคนทั่วไปถึง 14 เท่าหากติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID-19) เนื่องจากปอดมีความอ่อนแอจากการทำร้ายด้วยบุหรี่ข้อมูลจากศูนย์ควบคุมโรคจีน (China CDC) พบว่าอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID: 19) ร้อยละ 25.5 เป็นผู้สูบบุหรี่ในประเทศไทยมีจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่เฉลี่ยวันละ 142 คนหรือชั่วโมงละ 6 คนการเสียชีวิตสร้างความสูญเสียทางเศรษกิจที่เป็นภาระจ่ายด้านสุขภาพของประเทศร้อยละ 0.78 ผลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วต่อเนื่องการเริ่มต้นสูบบุหรี่ในช่วงอายุที่น้อยส่งผลให้เกิดภาวะติดบุหรี่และยากที่จะเลิกสูบเมื่อเป็นผู้ใหญ่ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสูบบุหรี่ของเยาวชนคือเพื่อนสนิทสูบบุหรี่บุคคลในครอบครัวสูบบุหรี่การเข้าถึงบุหรี่ได้ง่ายการไม่เคร่งคัดในการบังคับใช้กฎหมายห้ามขายบุหรี่ให้เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปีจากผลการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่าเยาวชนไทยสูบบุหรี่อายุน้อยที่สุดเพียง 6 ปีพบประชากรไทยอายุ 15 – 19 ปี 55.9 ล้านคนเป็นผู้ที่สูบบุหรี่ 10.7 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 19.1 แยกเป็นประจำ 9.4 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 16.8 และสูบนาน ๆ ครั้ง 1.3 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 2.3

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนมีความรู้ถึงอันตรายและพิษภัยของสุราและบุหรี่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.มีการรณรงค์ให้เกิดการลด ละ เลิก สุราและบุหรี่ในกลุ่มเด็กนักเรียน 3.กลุ่มนักเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการดื่มสุราและสูบบุหรี่ 4.มีกลุ่มผู้นำนักเรียนในการเป็นต้นแบบที่ดีให้กับเยาวชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
201275.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 201,275.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนมีความรู้ถึงอันตรายและพิษภัยของสุราและบุหรี่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.มีการรณรงค์ให้เกิดการลด ละ เลิก สุราและบุหรี่ในกลุ่มเด็กนักเรียน
3.กลุ่มนักเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการดื่มสุราและสูบบุหรี่
4.มีกลุ่มผู้นำนักเรียนในการเป็นต้นแบบที่ดีให้กับเยาวชน


>