กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะขวาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะขวาง

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลเกาะขวาง

นางอำพัน วงษ์สวัสดิ์ ประธานศูนย์
นางทัศนีย์ คงรอด รองประธานศูนย์
นางสายสมร นามดัง กรรมการศูนย์
นางสมพร สืบวงศ์รุ่ง กรรมการศูนย์

ห้องประชุมเทศบาลตำบลเกาะขวาง (ชั้นล่าง)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

78.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

69.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

78.00 80.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

69.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/10/2020

กำหนดเสร็จ 24/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้ สันทนาการ และส่งเสริมอาชีพสำหรับผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้ สันทนาการ และส่งเสริมอาชีพสำหรับผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้สูงอายุ (จำนวน 70 คนๆละ 80 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ รวม 52 วัน) เป็นเงิน 291,200 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้สูงอายุ (จำนวน 70 คนๆละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ รวม 52 วัน) เป็นเงิน 91,000 บาท
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์/ค่าใช้สอยในการอบรม เป็นเงิน 7,000 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 52 วันๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 62,400 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 ตุลาคม 2563 ถึง 24 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุได้รับการฝึกอบรม สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง ได้รวมกลุ่มทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สังคม และมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องที่ตอบสนองความต้องการของตนเองหรือมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิต

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
451600.00

กิจกรรมที่ 2 ประเมินภาวะสุขภาพจิตผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
ประเมินภาวะสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประเมินภาวะสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ โดยใช้แบบประเมินความเครียดด้วยตนเอง

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 ตุลาคม 2563 ถึง 24 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพจิต เพื่อวางแผนให้การช่วยเหลือหรือป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 451,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งทางกายและทางจิตใจ
2. ผู้สูงอายุมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องที่ตอบสนองความต้องการของตนเองหรือมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิต
3. ผู้สูงอายุได้รวมกลุ่มทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชนและสังคม
4. ผู้สูงอายุได้รับการฝึกอบรมและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง


>