กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการแปรงฟันในโรงเรียนบ้านคลองช้าง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี

โรงเรียนบ้านคลองช้าง

-

โรงเรียนบ้านคลองช้าง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในปัจจุบันการปฏิรูปไปสู่การส่งเสริมสุขภาพเป็นกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็นมากในโรงเรียนเพราะการที่เด็กและเยาวชนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ทั้งร่างกายและจิตใจนั้นเป็นสิทธิขั้นต้นของมนุษย์ ที่ผู้อื่นไม่สามารถหยิบยื่นให้ได้ ซึ่งในยุคปัจจุบันเด็กมีการบริโภคขนมคบเคี้ยวกันอย่างแพร่หลาย ขนมแต่ละชนิดมีส่วนผสมของน้ำตาลในปริมาณมาก โดยเฉพาะลูกกวาด ลูกอม ซึ่งมีสีสันสวยงาม ทำให้เด็กชอบซื้อมากินอยู่เสมอ หากนักเรียนกินลูกอม และขนมขบเคี้ยวแล้วไม่รักษาดูแลสุขภาพในช่องปาก ไม่มีการแปรงฟันที่ถูกวิธีอาจส่งผลทำให้สุขภาพในช่องปากเสีย ฟันผุ ซึ่งเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้โดยการแปรงอย่างถูกวิธี ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องคือ แปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ถ้าเด็กนักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ไม่ดี ฟันผุ ส่งผลต่อการพัฒนาการ และโภชนาการของเด็ก สุดท้ายส่งผลต่อการเรียนของเด็กในอนาคต จากการสำรวจสภาวะการเกิดโรคฟันผุในโรงเรียนบ้านคลองช้างปี พ.ศ. 2563 พบว่า นักเรียนมีฟันแท้ผุร้อยละ 47.2ซึ่งเป็นปัญหาอยู่ อันเนื่องมาจากการขาดการแปรงฟันที่มีประสิทธิภาพ ความครอบคลุมในการดำเนินกิจกรรมทั้งในส่วนของการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน และตอนเช้าก่อนเข้าห้องเรียน ขาดความดูแลเอาใจใส่ของผู้ปกครองในเรื่องทันตสุขภาพ การลดบริโภคอาหารหวาน และการจัดการเรียนรู้ทางทันตสุขภาพ ทางเจ้าหน้าที่โรงเรียนบ้านคลองช้าง ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการส่งเสริมการแปรงฟันในโรงเรียนบ้านคลองช้างขึ้น โดยจัดทำโครงการและดำเนินกิจกรรมต่างๆเพื่อให้นักเรียนมีความรู้มีทัศนคติ และการปฏิบัติในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีซึ่งจะเป็นปัจจัยที่จะสนับสนุน ให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจต่อไป เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรักษาสุขภาพปากและฟันของตนเองจนเกิดเป็นนิสัยในอนาคต

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก

ร้อยละ 60 ของนักเรียนชั้นประถม 1-6 ปี มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก

50.00 100.00
2 2.เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1-3 มีความรู้ในการ ดูแลสุขภาพฟันน้ำนมให้ดีเพื่อรองรับฟันแท้ที่กำลังจะงอกของเด็ก

ร้อยละ 90 ของผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 1-3 มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันน้ำนมให้ดีเพื่อรองรับฟันแท้ที่กำลังจะงอกของเด็ก

50.00 100.00
3 3.เพื่อสร้างสุขนิสัยให้นักเรียนแปรงฟันที่โรงเรียนวันละ 2 ครั้งและมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องตามช่วงวัย

ร้อยละ 90 ของนักเรียนชั้นอนุบาล 1-3 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ได้รับการแปรงที่โรงเรียนวันละ 2 ครั้ง และมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องตามช่วงวัย

50.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 72
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1. อบรมให้ความรู้นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1-6 เรื่องสุขภาพช่องปากในวัยเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1. อบรมให้ความรู้นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1-6 เรื่องสุขภาพช่องปากในวัยเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณ - ค่าวิทยากร 1 คน x 600 บาท x  3 ชั่วโมง  เป็นเงิน  1,800 บาท
-  ค่าอาหารว่างจำนวน 150 คน x 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,750 บาท - ค่าไวนิลขนาด 2.0 ม. x 3.0 ม. x 250 บาท  เป็นเงิน 1,500 บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรม 150 ชุด x 15 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  9,300  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 1-3 ทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องตามช่วงวัย
  3. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9300.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนชั้นอนุบาล 1-3 ในการดูแลสุขภาพฟันน้ำนมให้ดีเพื่อรองรับฟันแท้ที่กำลังจะงอก

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนชั้นอนุบาล 1-3 ในการดูแลสุขภาพฟันน้ำนมให้ดีเพื่อรองรับฟันแท้ที่กำลังจะงอก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณ - ค่าวิทยากร 1 คน x 600 บาท x 3 ชั่วโมง  เป็นเงิน  1,800 บาท
- ค่าอาหารว่างจำนวน 30 คน x 25 บาท จำนวน    1 มื้อ  เป็นเงิน 750 บาท - ค่าอาหารกลางวันจำนวน 30 คน x 50 บาท จำนวน 1 มื้อ  เป็นเงิน 1,500 บาท ค่าวัสดุประกอบการอบรม - ค่ากระเป๋าใส่เอกสาร จำนวน 30 ใบ x 60 บาท   เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าสมุดบันทึก จำนวน 30 เล่ม x 10 บาท เป็นเงิน 300 บาท
- ค่าปากกา จำนวน 30 ด้าม x 5 บาท  เป็นเงิน 150 บาท
- ค่าเอกสารประกอบการอบรม 30 ชุด x 15 บาท     เป็นเงิน 450 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  6,750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 1-3 ทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องตามช่วงวัย
  3. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6750.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3. ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตามช่วงวัย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3. ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตามช่วงวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณ ค่าอุปกรณ์สำหรับฝึกทักษะการแปรงฟัน - ค่าแปรงสีฟันเด็กเล็ก จำนวน 72 ด้าม x 25 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท - ค่ายาสีฟันเด็กเล็ก จำนวน 72 หลอด X 30 บาท  เป็นเงิน 2,160 บาท
- ค่าแปรงสีฟันเด็กโต 150 ด้าม x 20 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่ายาสีฟันเด็กโต จำนวน 150 หลอด x 20 บาท  เป็นเงิน 3,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 9,960 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 1-3 ทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องตามช่วงวัย
  3. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9960.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปผลการดำเนินโครงการ และหาแนวทางแก้ไข ติดตามต่อไป

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปผลการดำเนินโครงการ และหาแนวทางแก้ไข ติดตามต่อไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณ - ค่าอาหารว่างจำนวน 46 คน x 25 บาท จำนวน 1 มื้อ  เป็นเงิน 1,150 บาท - ค่าอาหารกลางวันจำนวน 31 คน x 50 บาท จำนวน 1 มื้อ  เป็นเงิน 1,550 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 2,700 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 1-3 ทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องตามช่วงวัย
  3. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,710.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 1-3 ทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ
2. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องตามช่วงวัย
3. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก


>