กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) อบต.ปากนํ้า ปี 2564

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) อบต.ปากนํ้า ปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า

1.นายอรุณ เอ็มดู

2.นายตรา เหมโคน้อย

3.นายปรีชา ปันดีกา

4.นายเอกนรินทร์ ลัดเลีย

5.นางสาวนดา แย้มสุข

ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละความครอบคุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชชน

 

80.00

หลักการและเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปัจจุบันมีจำนวนผู้ติดเชื้อและผู้ติดเชื้อรายใหม่เป็นการติดเชื้อภายในประเทศเพิ่มจำนวนมากขึ้นอย่างต่อเนื่องส่วนใหญ่เป็นการติดเชื่อจากสถานบันเทิง เป็นกลุ่มนักท้องเที่ยว พนักงาน นักดนตรีและการระบาดระลอกใหม่ได้กระจายไปในหลายพื้นที่อย่างรวดเร็ว จากการติดตามและการสอบสวนโรคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พบว่าการที่ผู้ติดเชื้อมิได้แสดงอาการของโรคทำให้เชื่อโรคแพร่ออกไปนยังผู้สัมผัสใกล้ชิด และมีข้อมูลว่าเป็นเชื่อโรคสายพันธ์ที่สามารถระบาดได้เร็วกว่าสายพันธ์ปกติ จึงมีความจำเป็นต้องบังคับใช้มาตรการที่เข้มงวดขึ้นเพื่อปกกันและระงับยับยั้งการแพร่ระบาดในพื้นที่ ประกอบกับจังหวัดสตูลได้มี คำสั่งจังหวัดสตูล ที่ ๗๒๖/๒๕ต๔ ลงวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๔๖๔ เรื่องมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสตูลโดยมีผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ควบคุมสูงสุด ๑๘ จังหวัด เมื่อเดินทางกลับถึงบ้าน หรือโรงแรม ให้แจ้งรายงานตัวกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หรือผู้นำชุมชนในเขตพื้นที่ทันที และให้กักกันตัวไว้ ณ Local Quarantine : LQ ภายใต้ของพนักงานควบคุมโรคติดต่อ เป็นระยะเวลา ๑๔

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงใน LQ

ร้อยละของบุคคลที่มีความเสี่ยงได้รับการกักตัว

100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ใช้อาคารหัสจรรย์สนามฟุตบอล อบต.ปากนํ้า เพื่อกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง

ค่าใช้จ่าย

-ค่าอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการกักตัวของบุคคลเสี่ยง จำนวน20 ชุด X 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท

-ค่าอาหารสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ณ ศูนย์ LQ เป็นเงิน 20,000 บาท

-เจลล้างมือแอลกอฮอล์ ขนาด 500 มิลลิลิตรจำนวน 50 ขวด X 200 บาทเป็นเงิน 10,000 บาท

-ถุงมือแพทย์จำนวน 50 กล่อง X 120 บาท เป็นเงิน 6,000บาท

-หน้ากากอนามัย จำนวน 50 กล่อง X 175 บาทเป็นเงิน 8,750 บาท

-ปรอทวัดไข้จำนวน20 อัน X 360 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท

-ชุดเครื่องนอนจำนวน 10 ชุดเป็นเงิน 20,000 บาท

-ค่าชุด PPE จำนวน 10 ชุด X395 บาทเป็นเงิน 3,595 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19

2.ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื่้อโควิด 19 ได้รับการกักตัว ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
77545.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 77,545.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19

2.ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19 ได้รับการกักตัวร้อยละ 100


>