กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เพี้ยราม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนตำบลเพี้ยราม ปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เพี้ยราม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเพี้ยราม

พุทธมาศ ทองคำ

ตำบลเพี้ยราม อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพประจำบ้านและแกนนำสุขภาพโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ มีส่วนร่วม ในการดูแลสุขภาพและป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้

แกนนำสุขภาพได้รับความรู้และเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันตนเอง

0.00 80.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคล ชุมชนและโรงเรียนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและ ควบคุมป้องกันโรค

ทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วระดับตำบลมีความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค

100.00
3 เพื่อให้ชุมชนและโรงเรียนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 25  ของค่ามัธยฐาน ย้อนหลัง 5 ปี (ปี 2559 - 2563)

25.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 31/07/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนตำบลเพี้ยราม ปีงบประมาณ 2564

ชื่อกิจกรรม
โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนตำบลเพี้ยราม ปีงบประมาณ 2564
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเพี้ยราม   รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ดังนี้            - ค่าอาหารกลางวัน            ๑๕๐ คน × ๕๐ บาท × ๑ มื้อ    เป็นเงิน  ๗,๕๐๐ บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๑๕๐ คน × ๒๕ บาท × ๒ มื้อ     เป็นเงิน  ๗,๕๐๐ บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร (ระดับจังหวัด) ๖๐๐ บาท  × ๕ ชั่วโมง         เป็นเงิน  ๓,๐๐๐ บาท - ค่าเครื่องเสียง                          เป็นเงิน  ๑,๔๐๐ บาท - ค่าสถานที่                                                                     เป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาท - ค่าวัสดุที่ใช้ในการอบรม ๑๕๐ ชุด × ๓๐ บาท                      เป็นเงิน  ๔,๕๐๐ บาท - ค่าป้ายโครงการ  ๑ แผ่น                                              เป็นเงิน    ๖๐๐  บาท

             รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๒๕,๕๐๐  บาท (สองหมื่นห้าพันห้าร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีผู้ร่วมอบรม 150 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้นำชุมชน อสม. ครู ศพด. มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคติดต่อและการดูแลสุขภาพที่ทันเหตุการณ์ สามารถ
ดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และคนชุมชนได้
2. ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วของหมู่บ้านและโรงเรียน มีความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกัน
โรคได้อย่างรวดเร็วและทันท่วงที
3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่าง
ต่อเนื่องสม่ำเสมอ
4. ประชาชนในชุมชนตำบลเพี้ยรามเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อและภัยสุขภาพลดลง


>