กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี ไอคิว อีคิว

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่

สถานีอนามัยนาพู่,รพ.สต.บ้านหลวง

นางสาวลฎาภา ละชินลา
นางสาวบุศยาการย์ ภูชาดึก

พื่นที่ตำบลนาพู่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กได้รับความรู้และทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการไอคิวและอีคิว

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้หลังการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85

0.00 85.00
2 เพื่อให้ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กได้รับทราบวิธีการเฝ้าระวังและตรวจจับความผิดปกติทางด้านพัฒนาการของเด็กได้เอง

เด็กที่มีความผิดปกติและเด็กที่เสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้าได้รับการเฝ้าระวังและติดตามร้อยละ 100

95.00
3 เพื่อให้เด็กที่ตรวจพบภาวะผิดปกติทั้งด้านไอคิวและอีคิวได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างทันท่วงที

เด็กที่มีความผิดปกติและเด็กที่เสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้าได้รับการเฝ้าระวังและได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา ร้อยละ 100

100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็ก 120

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 31/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ประเมินพัฒนาการไอคิว อีคิว เด็ก 0-5 ปี

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ประเมินพัฒนาการไอคิว อีคิว เด็ก 0-5 ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารกลางวัน  50 บาท x 120 คน     เป็นเงิน  6,000   บาท ค่าอาหารว่าง       25 บาท x 120 คน      เป็นเงิน  6,000   บาท ค่าวัสดุ - อุปกรณในการอบรม                เป็นเงิน   3,700  บาท
*หมายเหตุ :  ค่าใช่จ่ายในโครงการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กสามารถประเมินพัฒนาการเด็กทั้งด้านไอคิว อีคิวได้โดยวิธีที่ถูกต้อง เด็กที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการตรวจประเมิฯติดตามและส่งต่อ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16200.00

กิจกรรมที่ 2 ติดตั้งป้ายสัญญาณอันตรายพัฒนาการเด็กที่ผิดปกติ 19 จุด

ชื่อกิจกรรม
ติดตั้งป้ายสัญญาณอันตรายพัฒนาการเด็กที่ผิดปกติ 19 จุด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าป้ายสัญญาณอันตรายพัฒนาการเด็กที่ผิดปกติ  19 ป้าย x 200 บาท เป็นเงิน  3,800  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีป้ายเตือนสัญญาณอันตรายพัฒนาการเด็กที่ผิดปกติจำนวน 19 จุด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :
รายละเอียดค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ปกครอง หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก สามารถประเมิณพัฒนาการทั้งด้านไอิว อีคิวเด็กได้โดยวิธีที่ถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพ
2. ผู้ปกครองหรือผู้เลฃี้ยงดูเด็กสามารถตรวจประเมิณและพบภาวะความผิดปกติได้เองและได้รับการส่งต่อตามแนวทางการรักษา
3.เด็กที่ตรวจพบความผิดปกติทุกรายได้รับการตรวจประเมิณซ้ำโดยเจ้าหน้าที่และส่งต่อตามแนวทางการรักษา


>