กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมและบูรณาการการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน ในการสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมและบูรณาการการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน ในการสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

โรงพยาบาลปากช่องนานา (ประปา)

หน่วยงานโรงพยาบาลปากช่องนานา (ประปา)

คลินิกหมอครอบครัวประปา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดการเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุและป้องกันการพลัดตกล้ม

ทำให้ลดการเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุและป้องกันการพลัดตกล้ม

0.00
2 2.เพื่อจัดบริการสุขภาพให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพป้องกันตนเองจากภัยคุกคามทางสุขภาพได้

ทำให้จัดบริการสุขภาพให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพป้องกันตนเองจากภัยคุกคามทางสุขภาพได้

0.00
3 ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 10 ด้าน รวมถึงประเมินภาวะเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม

ทำให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 10 ด้าน รวมถึงประเมินภาวะเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม

0.00
4 4.เพื่อสร้างพื้นที่และโอกาศให้ผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองและผู้สูงอายุด้วยกันได้

ทำให้สร้างพื้นที่และโอกาศให้ผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองและผู้สูงอายุด้วยกันได้

0.00

1.เพื่อลดการเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุและป้องกันการพลัดตกล้ม

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/09/2020

กำหนดเสร็จ 31/10/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการส่งเสริมและบูรณาการการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน ในการสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
โครงการส่งเสริมและบูรณาการการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน ในการสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ปัจจุบันสังคมไทยกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรครั้งสำคัญคือการเข้าสังคมสูงวัย (Aging Society) ตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั่นคือประเทศไทยก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Completed Aged Society) โดยสัดส่วนผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมาตามคาดการณ์แล้วนั้นทั้งนี้ประเทศไทยจะก้าวสู่การเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super Aged Society) ในปี พ.ศ. 2578 ซึ่งประชากรที่สูงอายุจะมีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมดและเมื่อพิจาณาจำนวนผู้สูงอายุในรายจังหวัด (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) พบว่าจังหวัดนครราชสีมามีประชากรสูงอายุมากที่สุดคือ 423,934 คนนอกจากนี้จากข้อมูลการสำรวจการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทยของสำนักงานสถิติแห่งชาติปี พ.ศ. 2558 ยังพบว่าผู้สูงอายุชาวไทยที่ทำงานมีสัดส่วนอยู่ร้อยละ 36.3 หรือคิดเป็นแรงงานสูงอายุจำนวน 3.78 ล้านคนทั้งนี้เมื่อจำแนกประเภทผู้สูงอายุพบว่ามีผู้สูงอายุส่วนใหญ่ที่ดูแลตัวเองได้โดยไม่ต้องพึ่งผู้อื่นร้อยละ 79.5 โดยส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 60-69 ปีมีผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งผู้อื่นในบางกิจกรรมของกิจวัตรประจำวันร้อยละ 19 โดยส่วนใหญ่อยู่ในวัยมากกว่า 80 ปีและมีผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมดร้อยละ 1.5 โดยส่วนใหญ่อยู่ในวัยมากกว่า 80 ปีเห็นได้ว่าผู้สูงอายุไทยส่วนใหญ่ยังเป็นผู้สูงอายุที่ยังมีความสามารถดำเนินชีวิตได้โดยไม่จำเป็นต้องมีผู้ดูแลหรือยังสามารถเป็นพลังของสังคมได้ดังนั้นเพื่อเป็นการพัฒนาความพร้อมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมในการดูแลสุขภาพของตนเองการเตรียมความพร้อมต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันรวมถึงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนต่อผู้สูงอายุทางคลินิกหมอครอบครัวประปาได้เห็นถึงความสำคัญด้านการดูแลวัยผู้สูงอายุตลอดมาจึงได้จัดทำโครงการฯ นี้ขึ้นมาเพื่อพัฒนาและวางแผนการจัดบริการสุขภาพเพื่อให้เกิดต้นแบบงานบูรณาการด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพต่อไป

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2563 ถึง 31 ตุลาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 65 2. การหกล้มของผู้สูงอายุในครัวเรือนลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 2

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
37100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 37,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 65
2. การหกล้มของผู้สูงอายุในครัวเรือนลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 2


>