กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาความพร้อมเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (2019) ระยะ2

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

โรงพยาบาลปากช่องนานา (ประปา)

หน่วยงาน โรงพยาบาลปากช่องนานา (ประปา)

ห้องประชุมโรงพยาบาลปากช่องนานา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ และเตรียมความพร้อมรับมือการแพร่ระบาดของเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะที่ 2

ทำให้ได้ความรู้ คำแนะนำ และเตรียมความพร้อมรับมือการแพร่ระบาดของเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะที่ 2

0.00
2 2.เฝ้าระวัง คัดกรอง สอบสวนและควบคุม โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) กลุ่มเสี่ยงในพื้นที่อย่างเข้มงวดต่อเนื่องและบันทึกรายงาน

ทำให้เฝ้าระวัง คัดกรอง สอบสวนและควบคุม โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) กลุ่มเสี่ยงในพื้นที่อย่างเข้มงวดต่อเนื่องและบันทึกรายงาน

0.00
3 3.ประชาชนในพื้นที่ได้รับการดูแลและเข้าถึงบริการสุขภาพโดยทีมภาคีเครือข่ายในชุมชน

ทำให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการดูแลและเข้าถึงบริการสุขภาพโดยทีมภาคีเครือข่ายในชุมชน

0.00
4 4.เพื่อจัดหาอุปกรณ์การคัดกรองให้พร้อมใช้งาน

ทำให้จัดหาอุปกรณ์การคัดกรองให้พร้อมใช้งาน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/09/2020

กำหนดเสร็จ 31/10/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการพัฒนาความพร้อมเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (2019) ระยะ2

ชื่อกิจกรรม
โครงการพัฒนาความพร้อมเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (2019) ระยะ2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ถึงวันนี้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019“ โควิด -19” ยังคงมีการแพร่ระบาดในหลายประเทศล่าสุด (12 มีนาคม) ศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข (ส ธ .) รายงานว่าผู้ป่วยยืนยันรวมในกว่า 120 ประเทศทั่วโลกด้วยจำนวนผู้ป่วย 126,643 รายในจำนวนนี้มีอาการรุนแรง 5,708 รายเสียชีวิต 4,638 รายซึ่งองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 เป็นโรคระบาดในระดับโลก (pandemic) สำหรับประเทศไทยแม้จะมีความพยายามในการควบคุมโรคโดยการตรวจจับผู้ป่วยให้ได้อย่างรวดเร็วแยกโรคและติดตามผู้สัมผัสผู้ป่วยทุกรายทำให้การระบาดยังอยู่ในวง จำกัด ในระยะที่ผ่านมา (phase 2) อย่างไรก็ตามยังคงมีความเสี่ยงสูงที่ประเทศไทยจะพบการระบาดในวงกว้างและเกิดการระบาดใหม่อีกครั้งหรือกลายเป็นโรคประจำถิ่นและในประเทศไทยเราที่ผ่านมาทำให้ไทยสามารถชะลอการแพร่ระบาดของโรคได้ในระดับหนึ่งซึ่งเกิดจากความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่มีส่วนร่วมในการใช้มาตรการต่างๆร่วมกันและมาตรการควบคุมโรคจะมีประสิทธิภาพต่อไปหรือไม่ต้องอาศัยความร่วมมือที่ดีจากภาคประชาชนดังนั้นจึงต้องมีการพัฒนาความพร้อมและอัพเดตความรู้เพื่อไม่ให้เกิดความตระหนกและทันกับสถานการณ์ของโรคอย่างเป็นปัจจุบันทางคลินิกหมอครอบครัวประปาจึงเห็นถึงความสำคัญของปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจึงต้องจัดทำโครงการฯ นี้ขึ้นมาเพื่อพัฒนาความพร้อมเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่องได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2563 ถึง 31 ตุลาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนได้รับความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของโรคอุบัติซ้ำได้
  2. ประชาชนเกิดความตระหนักและร่วมกันเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้
  3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลจากทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพและเข้าถึงบริการสุขภาพ
  4. มีวัสดุอุปกรณ์พร้อมใช้งานเมื่อเกิดการระบาดของโรค
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
42900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 42,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนได้รับความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของโรคอุบัติซ้ำได้
2. ประชาชนเกิดความตระหนักและร่วมกันเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้
3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลจากทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพและเข้าถึงบริการสุขภาพ
4. มีวัสดุอุปกรณ์พร้อมใช้งานเมื่อเกิดการระบาดของโรค


>