กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านแบบไป-กลับ เทศบาลเมืองหนองคาย

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองหนองคาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านแบบไป-กลับ เทศบาลเมืองหนองคาย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองหนองคาย

ศูนย์บริการสาธารณสุข 3 (ดอนสวรรค์)

นางกุลนิตาเตโช และคณะ

ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ๓ และเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านแบบไป-กลับ เทศบาลเมืองหนองคาย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)

 

111.00
2 ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้าน (คน)

 

15.00

ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้าน (คน)

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านได้รับการดูแลด้านสุขภาพร่างกายลดปัญหาการเจ็บป่วย และด้านจิตใจลดปัญหาซึมเศร้า เหงา จากการถูกทอดทิ้งให้อยู่เพียงลำพัง

ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index)ดีขึ้นกว่าเดิม คือ คะแนนอยู่ในช่วง๕-๑๑ (กลุ่มติดบ้าน) หรือเปลี่ยนเป็นกลุ่มติดสังคม คือ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ ๑๒ (กลุ่มติดสังคม)

0.00 0.00

เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านได้มีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้าน (คน) 15

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้ ออกกำลังกาย และฟื้นฟูอารมณ์ จิตใจ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้ความรู้ ออกกำลังกาย และฟื้นฟูอารมณ์ จิตใจ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

(1) กิจกรรมให้ความรู้และฟื้นฟูอารมณ์ จิตใจ (กิจกรรมสันทนาการ) โดย  เจ้าหน้าที่สาธารณสุข หรือ อาสาสาธารณสุขฯ(อสม.) , ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ(CG) , นักบริบาลท้องถิ่น(อสบ.) , ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม(ชมรมผู้สูงอายุ) หรือผู้สูงอายุในชุมชน  (กิจกรรมธรรมะ) โดย พระสงฆ์ หรือจิตอาสา  เป็นต้น (2) กิจกรรมให้ความรู้และฟื้นฟูสภาพร่างกาย โดยนักกายภาพบำบัด  แพทย์แผนไทย ช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาในการปฏิบัติกิจวัติประจำวัน  การบำบัดต่าง ๆ (3) กิจกรรมตรวจประเมินสุขภาพ  โดย ทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (4) กิจกรรมให้ความรู้และออกกำลังกาย (ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ , เดินชมสวน , ฯลฯ) โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข หรืออาสาสาธารณสุขฯ(อสม.) , ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ(CG) , นักบริบาลท้องถิ่น(อสบ.) , ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม(ชมรมผู้สูงอายุ) หรือผู้สูงอายุในชุมชน  ฯลฯ (5) กิจกรรมให้ความรู้และฟื้นฟูสมรรถภาพพัฒนาสมอง  โดยนักจิตวิทยาหรือทีมสหสาขาวิชาชีพอื่นๆ โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้น 86,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านได้รับการดูแลด้านสุขภาพร่างกายลดปัญหาการเจ็บป่วย และด้านจิตใจลดปัญหาซึมเศร้า เหงา จากการถูกทอดทิ้งให้อยู่เพียงลำพัง / ร้อยละ ๘๐ของกลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index)ดีขึ้นกว่าเดิม คือ คะแนนอยู่ในช่วง๕-๑๑ (กลุ่มติดบ้าน) หรือเปลี่ยนเป็นกลุ่มติดสังคม คือ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ ๑๒ (กลุ่มติดสังคม)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
86600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 86,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index)ดีขึ้นกว่าเดิม คือ คะแนนอยู่ในช่วง๕-๑๑ (กลุ่มติดบ้าน) หรือเปลี่ยนเป็นกลุ่มติดสังคม คือ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ ๑๒ (กลุ่มติดสังคม)


>