กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโคกพยอม
กลุ่มคน
1. นางฮาดีน๊ะ สาหมีด
2. นางสาววรรณิดา ปานแขวง
3. นางยุภาวดี หมาดหวัง
4. นางออนี หลีหาด
5. นางดวงณภา เอ็มเล่ง
3.
หลักการและเหตุผล

จากการสำรวความเห็นวัยรุ่นไทยว่าคิดอย่างไรกับพ่อแม่ พบว่าร้อยละ 90 ยืนยันว่า "แม่" คือบุคคลที่ สำคัญที่สุดในชีวิต แต่ยอมรับว่าตนเองมีความลับกับแม่เรื่องความรัก แลเรื่องการคบเพื่อนต่างเพศมากที่สุด ดังนั้น วัยรุ่นไทยส่วนใหญ่จึงสื่อสารกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง ทั้งที่พ่อแม่คือคนวัยรุ่นอยากพูดคุย ปรึกษาเมื่อมี ปัยหาในเรื่องความรัก เรื่องแผนมากที่สุด อาจเพราะกลัวพ่อแม่เสียใจกับพฤติกรรมของตน กลัวถูกดุด่าว่า กล่าวหรือไม่ชอบให้นำพฤติกรรมของตนไปเปรียบเทียบกับครอบครัวอื่น หรือกระทั้งเปรียบเทียบกับสมัยที่พ่อ แม่เป็นวัยรุ่นก็ตาม ดั้งนั้นการส่งเสริมการสื่อสารระหว่างพ่อแม่ ผู้ปกครองกับบุตรหลานเพื่อเสริมสร้างบทบาทครอบครัว การส่งเสริมสุขภาวะทางเพศในเยาวชน โดยมุ่งให้พ่อแม่ที่มีลูกวัยรุ่น มีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีในเรื่อง เพศ และมีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศสร้างสรรค์ภายในครอบครัว เพราะจากผลวิจัยพบว่าวัยรุ่น ไทยส่วนใหญ่เลือก "เพื่อน" เป็นที่ปรึกษาอันดับแรกเมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องเพศ การเลือกที่จะไม่สื่อสารกับ พ่อแม่ในเรื่องเพศ เรื่องแฟน หรือเรื่องความรัก ส่งผลให้วัยรุ่นไทยพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศและกลายเป็นกลุ่ม ที่เสี่ยงต่อการรับและแพร่เฃื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเฃื่อเอชไอวี ขณะที่มีรายงานวิจัยว่าการพูดคุยเรื่อง เพศในครอบครัวส่งผลต่อการชะลอการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่น และช่วยให้วัยรุ่นได้รับข้อมูล ความรู้ที่ถูกต้อง เมื่อพร้อมจะมีเพศสัมพันธ์ จึงเห็นว่าพ่อแม่คือช่องทางสำคัญในการช่วยส่งเสริม สนับสนุนการแก้ปัญหาเอดส์ในเยาวฃนแต่พ่อแม่ส่วน ใหญ่มักนึกไม่ถึงว่าลูกของตนมีประสบการณ์หรือมีพฤติกรรมทางเพศแล้ว ขณะเดียวกัน วิธีการสื่อสารเรื่องเพศ ระหว่างพ่อแม่กับลูกวัยรุ่น ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น เพราะมีการวิจัยพบว่าแม้จะมีการพูดคุย กันบ่อยในครอบครัว แต่รูปแบบการพูดคุยของครอบครัวที่ลูกวัยรุ่นต้องจำยอมเห็นด้วยกับพ่อแม่ทุกเรื่องใน ระหว่างการพูดคุย วันรุ่นกลุ่มนี้มีแนวโน้มที่จะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับเรื่องเพศสูงกว่าครอบครัวที่พ่อแม่เปิดโอกาส ให้ลูกแสดงออกว่าไม่เห็นด้วยในบางเรื่องระหว่างการสนทนา และเมื่อเปรียบเทยบกับครอบครัวที่มีการพูดคุย อย่างตรงไปตรงมา ลูกวัยรุ่นในครอบครัวกลุ่มหลังมีแนวโน้มที่จะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับเรื่องเพศน้อยกว่าสองกลุ่ม แรก ด้วยเหตุอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโคกพยอม จึงจัดทำโครงการ "พัฒนาการสื่อสารเรื่องเพศ ของผู้ปกครองต่อบุตรหลานวัยรุ่น เพื่อป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์" เพื่อส่งเสริมสุขภาวะ ทางเพศในเยาวชนอันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่เด็กและเยาวชนในพื้นที่บ้านโคกพยอม และ แก้ปัญหาเยาวชนท้องก่อนวัยอันควรอย่างเป็นรูปธรรม

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญในการสื่อสารของพ่อแม่/ผู้ดูแลต่อบุตรหลานที่เป็นวัยรุ่น
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2.เพื่อให้ผู้ปกครองและ อสม. เป็นตัวแทนได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลประสบการณ์และความรู้เกี่ยวกับการจัดเรื่องเพศ
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครองและ อสม. แกนนำในชุมชน ที่ผ่านสนับสนุนข้อมูล เนื้อหาและวิธีการเกี่ยวกับการสืท่อสาร เรื่องเพศเพื่อป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในกลุ่มวัยรุ่น
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมประชุมวางแผนการดำเนินงาน/ชี้แจงโครงการและประสานงานกับผู้นำชุมชน
    รายละเอียด

    1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 20 X 2 X 25 บาท เป็นเงิน 1000 บาท
    2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 X 50 บาท เป็นเงิน 1000 บาท
    รวมเป็นเงิน 2000 บาท

    งบประมาณ 2,000.00 บาท
  • 2. กิจกรรมอบรมตามแผนการเรียนรู้กลุ่มเป้าหมาย
    รายละเอียด

    1.ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1.5X3 ม. X 150 บาท เป็นเงิน 675 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 40 X 2 X 25 บาท X 2 เป็นเงิน 4000 บาท
    3.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 X 50 บาท X 2 เป็นเงิน 4000 บาท
    4.ค่าสมนาคุณวิทยากร X 6 ชั่วโมง X 400 X 2 รุ่น X เป็นเงิน 4800
    5.ค่าวัสดุสำนักงานที่ใช้ในการอบรม เป็นเงิน 2000 รวมเป็นเงิน 15475

    งบประมาณ 15,475.00 บาท
  • 3. ติดตามผลหลังจากดข้าร่วมกิจกรรม 3 เดือน
    รายละเอียด

    1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 16 X 2 X 25 บาท X 2 วัน เป็นเงิน 1600 บาท
    รวมเป็นเงิน 1600 บาท

    งบประมาณ 1,600.00 บาท
  • 4. สรุปผลการเรียนรู้การสื่อสารเรื่องเพศระหว่างผู้ปกครองกับบุตรหลาน ตามแผนการเรียนรู้กลุ่มเป้าหมาย
    รายละเอียด

    1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 20 X 1 X 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
    รวมเป็นเงิน 500 บาท

    งบประมาณ 500.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่บ้านโคกพยอม

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 19,575.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.พ่อแม่ ผู้ปกครองเกิดการวิเคราะห์ตนเองและสิ่งแวดล้อม และเห็นช่องว่างทางความคิดและวิถีชีวิต ระหว่างคนต่างรุ่น และผลตามมา 2.พ่อแม่ ผู้ปกครองเกิดทัศนะที่เปิดกว้างในเรื่องเพศวิถี และรับฟังมากขึ้น จากการได้เห็นมุมมองที่ แตกต่างลากหลาย และการตัดสิน คุณค่า ของแนวคิดหรือการปฏิบัติที่ต่างจากที่ตนยึดถือ 3.พ่อแม่ ผู้ปกครองเกิดทักษะการสื่อสารที่รับฟังและเรียนรู้ระหว่างกัน ระหว่างผู้ใหญ่กับวัยรุ่น และ สะดวกใจที่จะพูดเรื่องเพศมากกว่าเดิม 4.เกิดสัมพันธภาพที่ดีขึ้นในครอบครัวนำไปสู่การป้องกันปัญหาต่างๆ ของเยาวชน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 19,575.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................