กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการชุมสะอาด มลภาวะดี ห่างไกลโรค ด้วยมือเรา หมู่ที่ 7 บ้านบากันโต๊ะทิด ตำบลละงู อำเภอละลู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมสะอาด มลภาวะดี ห่างไกลโรค ด้วยมือเรา หมู่ที่ 7 บ้านบากันโต๊ะทิด ตำบลละงู อำเภอละลู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านบากันโต๊ะทิด

1.นางนิภาพร นวลแประ
2.นางอรพิน แก้วทอง
3.นางปรียา สาหมีด
4.ศศิพร แก้วทอง
5.นางแก้วตา พ่อหลัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

บ้านบากันโต๊ะทิด ได้ประสบปัญหาเกี่ยวกับการจัดเก็บขยะ เช่นเดียวกับหลายหมู่บ้าน ที่ไม่สามารถจัดการขยะได้ ทั้งนี้เกิดจากการเติบโตทางเศรษฐกิจแลค่านิยมของประชาชนในการซื้ออาหารเพื่อบริโภคมากกว่าผลิตเอง อีกทั้งประชาชนยังขาดจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในด้านการจัดการขยะมูลฝอย จากการพบขยะสองข้างทาง และ ขยะในพื้นที่ที่มีจำนวนมากมายโดยไม่มีการแยกขยะ ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เห็นความสำคัญในการพึ่งตนเองในการแยกและกำจัดขยะรวมทั้งเศษอาหารจากครัวเรือนไม่มีการกำจัดขยะอย่างเหมะสม ทิ้งขยะปะปนกันทุกประการทุกประเภทในทั้งขยะเดียวกัน ในถังขยะปะปนด้วยขยะทัั่วไป ขยะอันตราย และขยะรีไซเคิล ซึ่งเมื่อดูขยะในหมู่บ้านทำให้เกิดปํญหาสิ่งแวดล้อม และยังเป็นแหล่งทำให้การการเกิดโรคติดต่อในหมู่บ้านได้ การปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อม ให้ถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ทุกคนในหมู่บ้าน ทำได้ ปฎิบัติได้ในชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคล แต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหมู่บ้านใดชุมชนใดมีกรปรับปรุงรักษษความสะอาดของที่พักอาศัยเป็นประจำอย่างต่อเนื่องก็จะเป็นการป้องกันโรคติดต่อต่าง ๆ ในชุมชนได้อย่างประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพแข็งแรง
อาสาสมัครสาธาณสุขหมู่ที่ 7 บ้านบากันโต๊ะทิด จึงจัดทำโครงการชุมสะอาด มลภาวะดี ห่างไกลโรค ด้วยมือเราเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาด และร่วมมือปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านที่พักอาศัยของตนให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งถ้าหมู่บ้านมีความสะอาดแล้วโรคติดต่อต่าง ๆ ที่ขึ้นในชุมชนก็จะลดลงได้อย่างมากส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีภาวะเศรษฐกิจที่ดีต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.กลุ่มเป้าหมาย ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการจัดการขยะ และปรับปรุงสิ่งแวดล้อม

ผู้เข้าการอบรมมีความรู้ ร้อยละ 80 หลังจากอบรม โดยวิธีการตอบคำถาม

0.00
2 2.เพื่อสร้างบ้านต้นแบบในการกำจัดขยะและปรับปรุงสิ่งแวดล้อม

มีบ้านต้นแบบด้านการจัดการขยะ โซนละ 2 หลัง (จำนวน 2 โซน)

0.00
3 3.เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักรู้ โดยสร้างความร่วมมือให้ผู้รับผิดชอบต่อสังคมของตนเอง

มีแผนปฎิบัติในการขับเคลื่อนหมู่บ้านในการจัดการขยะและปรับปรุงสิ่งแวดล้อม

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรม จัดประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ตัวแทนผู้นำศาสนา แกนนำอสม. เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม พร้อมคัดเลือกตัวแทนครอบครัวให้เข้าร่วมโครงการ ปรับปรุงให้เป็นแหล้งเรียนรู้ของชุมชน

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรม จัดประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ตัวแทนผู้นำศาสนา แกนนำอสม. เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม พร้อมคัดเลือกตัวแทนครอบครัวให้เข้าร่วมโครงการ ปรับปรุงให้เป็นแหล้งเรียนรู้ของชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 2 2. กิจกรรมการ ฝึกอบรมให้ความรู้การจัดการกำจัดขยะและปรับปรุงสิ่งแวดล้อม

ชื่อกิจกรรม
2. กิจกรรมการ ฝึกอบรมให้ความรู้การจัดการกำจัดขยะและปรับปรุงสิ่งแวดล้อม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12275.00

กิจกรรมที่ 3 3. กิจกรรม รณรงค์การจัดเก็บขยะในหมู่ จำนวน 4 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
3. กิจกรรม รณรงค์การจัดเก็บขยะในหมู่ จำนวน 4 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 4 4.เยี่ยมเสริมพลังในการจัดการขยะในครัวเรือนต้นแบบจำนวน 4 หลัง

ชื่อกิจกรรม
4.เยี่ยมเสริมพลังในการจัดการขยะในครัวเรือนต้นแบบจำนวน 4 หลัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 5.ถอดบทเรียน ติดตาม ประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
5.ถอดบทเรียน ติดตาม ประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,275.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือนของตนเอง และร่วมกันปรับปรุง
สภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
2.เกิดกระบวนการเรียนรู้ และสามารถจัดการขยะจากแหล่งที่เกิด มีการคัดแยกขยะ มีการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพไว้ใช้เองใน
ชุมชนและครัวเรือน
3.อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อลดลง
4.มีเครือข่ายในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยในครัวเรือน และชุมชน


>