กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าในผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำมัสยิดเจาะไอร้อง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำมัสยิดเจาะไอร้อง

นางสาวแวมัททิราแวสะมะแอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้องเหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอที่จะทำให้ขาดสารอาหารหรือถ้ากินอาหารมากเกินไปก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการกิน “โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำสารอาหารจากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้เป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานสำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ได้แก่ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกวัย ทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นวัยรากฐานของของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั่วร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา โดยเฉพาะในระยะ 2ปีแรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูรอบด้านอาหาร และภาวะโภชนาการที่ดี ปัญหาที่พบบ่อยได้แก่ เจริญเติบโตไม่สมวัย โรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการกิน ขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจาง จากสารขาดธาตุเหล็กโดยมีเหตุสำคัญจากพฤติกรรม การเลี้ยงดูด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารเด็กหรือเกินไปไม่ถูกต้อง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่1. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคน ข้อที่2. เพื่อหาสาเหตุ และแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ ข้อที่3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กและคณะกรรมการภาคภาคเครือข่ายทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ
  1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดเจาะไอร้องเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเล็กทุกคน
  2. ผู้ปกครอง ครูคณะกรรมการผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหาสาเหตุ และแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ
  3. ผู้ปกครอง ครู คณะกรรมการผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ
1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 08/06/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่1 ให้ความรู้การเฝ้าระวังแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน และการให้ความสำคัญของอาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กอ้วน/อาหารที่ควรเพิ่มสำหรับเด็กผอม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่1 ให้ความรู้การเฝ้าระวังแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน และการให้ความสำคัญของอาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กอ้วน/อาหารที่ควรเพิ่มสำหรับเด็กผอม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวิทยากร600บาท x 6ชั่วโมง =3,600.-บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน42คนx50บาทx1มื้อ =2,100.-บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม25บาทx42คนx 2มื้อ =2,100.-บาท
  • ค่าวัสดุ(สมุด ปากกา กระเป๋า) 42x100บาท ชุดละ 100บาท =4,200.-บาท
  • ค่าไวนิลโครงการ 1.2x2.4เมตร 720.-บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
8 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็กก่อนวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการก่อนวัยเรียน
  2. มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเต็มโตสมวัย
  3. ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12720.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,720.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กก่อนวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการก่อนวัยเรียน
2. มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเต็มโตสมวัย
3. ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน


>