กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารก ปี2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าคอลอตันหยง

หมู่ที่ 1,2,4,5,6,

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัว โดยเฉพาะการตั้งครรภ์ครั้งแรกการตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยาการเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมายกับ การเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพกับครอบครัว เป็นต้น
งานอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคอลอตันหยง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพแม่และเด็กจึงจัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารก ปี2564

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอด มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองตั้งแต่ระยะ ตั้งครรภ์ระยะคลอดและหลังคลอด

 

53.00 55.00
2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอด มีความรู้และทักษะในการอบรมเลี้ยงดูทารกแรกเกิด– 5 ปี

 

53.00 55.00
3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองและการดูแลทารกแรกเกิด – 5 ปีและสามารถให้อาหารเสริมต่างๆตามวัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามหลักโภชนาการ

 

53.00 55.00
4 เพื่อให้มารดาหลังคลอดทุกรายเห็นถึงความสำคัญของการให้นมแม่แก่ทารกแรกเกิด– 6 เดือน

 

53.00 55.00
5 เพื่อให้มารดาเด็กวัยแรกเกิด – 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งทราบข้อปฏิบัติในการดูแลสุข ภาพเด็ก/การให้วัคซีน/การใช้สมุดสุขภาพเด็ก/การประเมินและการส่งเสริมพัฒนาการ

 

53.00 55.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 53
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชีแจงการดำเนินงานให้แก่ อสม.

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชีแจงการดำเนินงานให้แก่ อสม.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารในการประชุมให้ความรู้แก่อสม. 43 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 2,150 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมให้ความรู้แก่อสม.จำนวน 43 คนอัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน2,150 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4300.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธ์คู่พร้อมสามี จำนวน 80 คน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธ์คู่พร้อมสามี จำนวน 80 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารในการประชุมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธ์คู่พร้อมสามี จำนวน 80 คนอัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ  เป็นเงิน 4000 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธ์คู่พร้อมสามี จำนวน 80 คนอัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ  เป็นเงิน 4000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดและสามี จำนวน 106 คน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดและสามี จำนวน 106 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารในการประชุมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์หญิง หญิงหลังคลอด และสามี จำนวน 106 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ  เป็นเงิน 5300 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอด และสามีจำนวน 106 คน อัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 5300บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10600.00

กิจกรรมที่ 4 ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์

ชื่อกิจกรรม
ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 ติดตามเยี่ยมมารดาที่มีภาวะเสี่ยงก่อนคลอดและหลังคลอด

ชื่อกิจกรรม
ติดตามเยี่ยมมารดาที่มีภาวะเสี่ยงก่อนคลอดและหลังคลอด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 6 ติดตามเด็กให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์

ชื่อกิจกรรม
ติดตามเด็กให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ 10
๒. การจัดบริการให้สามีเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพมารดาและบุตรทำให้สามีมีความภาคภูมิใจที่มีส่วนทำให้ลูกในครรภ์มีความปลอดภัย และพึงพอใจในบริการมากขึ้น
๓. ความรักในครอบครัวที่มีต่อหญิงตั้งครรภ์นำพาให้เกิดความมือแก้ไขภาวะแทรกซ้อนอย่างจริงจัง โดยสามีเป็นผู้นำในการแก้ไขปัญหาทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความปลอดภัยมากขึ้น
๔. ความรักในครอบครัวเสริมแรงให้หญิงตั้งครรภ์ สนใจดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อลูกในครรภ์คลอดปลอดภัย
๕. เครือข่าย อสม.มีความเข้มแข็งและสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก อันส่งผลให้มารดาและทารกมีสุขภาพที่ดี ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่ตายด้วยสาเหตุที่ป้องกันได้


>