กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ยางร้อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ป้องกันและชลอโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ยางร้อง

รพสต.แม่ยางร้อง

นางกัลยาอนันต๊ะและคณะ

รพสต.แม่ยางรอง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน คือ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับการดูแลรักษาและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม จะส่งผลให้เกิดภาวะแทวกช้อนตามมามากมาย ไดยเฉพาะโรคไตเรื่อวัง
(chronic kidney disease)ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยพบว่ามีผู้ป่วยไตวายเรื้อวังมากถึงร้อยละ 17.5 ของประซากรที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ยางร้อง มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน
จำนวน 87 คน,ผู้ปวยโรคความดันโลหิดสูงจำนวน 183 คน และ ผู้ป่วยที่เป็นทั้งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน14คน จากการ คัดกรองภาวะโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease ) ในผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงพบภาวะโรคไตเรื้อรัง(CKD) จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 39.47 โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ30.05 ในการนี้พบว่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีภาวะโรคไตเรื้อรัง (CKD) Stage 3 จำนวน 60 คนคิดเป็นร้อยละ 22.22 และStage 4 จำนวน 4 คนคิดเป็นร้อยละ 1.48 ของผู้ป่วยทั้งหมด
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ยางร้องเห็นความสำคัญในการดูแลป้องกันผู้ป่วยไตเรื้อรังในกลุ่มผู้ปวยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันและชะลอไม่ให้เกิดโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย โดยการดูแลรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มตัน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและชะลอโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรดเบาหวานขึ้นด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันและชะลอไม่ให้เกิดไตวายระยะสุดท้าย

ร้อยละผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย

1.48 0.00
2 เพื่อให้ผู้ปวยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง

ร้อยละผู้ปวยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง

60.00 90.00

เพื่อให้ผู้ปวยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 30/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงและวางแผนการดำเนินโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงและวางแผนการดำเนินโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ชี้แจงรายละเอียดโครงการและจัดทำแผนปฎิบัติการร่วมกัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มกราคม 2563 ถึง 30 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีแผนปฎิบัติการในการจัดกิจกรรมโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฎิบัติการ การดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร อารมณ์และการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับโรคและวัย

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฎิบัติการ การดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร อารมณ์และการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับโรคและวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.อบรมเชิงปฎิบัติการ การดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร อารมณ์และการออกกำลังกายโดยการบรรยายให้ความรู้ สาธิตการออกกำลังกายและฝึกการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ค่าอาหารว่าง เครื่องดื่ม 2 มื้อ 25*60 คน  3000 บาท ค่าอาหารกลางวัน 60 บาทx 60 คน 3600 บาท ค่าป้าย 540 บาท ค่าวิทยากร 6ชม.x 600 บาท 1800 บาท
pre/post test

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2563 ถึง 1 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการปฎิบัติตัวเพิ่มขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8940.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินผลการปฎิบัติตัวและ ภาวะแทรกซ้อนสรุปผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินผลการปฎิบัติตัวและ ภาวะแทรกซ้อนสรุปผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามประเมินผลการปฎิบัติตัวโดยการสัมภาษณ์และการตรวจ สุขภาพตามเกณฑ์และ ภาวะแทรกซ้อนตามนัดและสรุปผลการดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการปฎิบัติตัวเพิ่มขึ้น 2.กลุ่มเป้าหมายไม่มีภาวะไตวายระยะสุดท้าย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,940.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่มีภาวะไตวายระยะสุดท้าย


>