กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสุขภาพดีสร้างได้ สไตล์ไสอ้อ (ชมรม อสม.หมู่ที่ 5)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

ชุมชนบ้านไสอ้อ หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านพร้าว

1.นางจรูญลักษณ์ รุ่งทวีชัย
2.นางวันทนา ฉิมดำ
3.นางรัชนก จันทร์นวล
4.นางปลื้มจิต ขาวนาค
5.นางสาวกรีชฎา เรืองเดช

ชุมชนบ้านไสอ้อ หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านพร้าว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันปัญหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย ในชุมชนบ้านหน้าป่าหมู่ที่ 5 ถือว่าเป็นปัญหาหนึ่งของการดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชน และอัตราการเกิดโรคเรื้อรังของประชาชนก็เพิ่มมากขึ้น เพราะเป็นการบริโภคอาหารที่มีสารพิษปนเปื้อน ทางชมรม อสม. หมู่ที่ 5 บ้านไสอ้อ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพและการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ เพราะการปลูกผักสวนครัวไว้รับประทานเองภายในครัวเรือนจะช่วยลดการได้รับสารเคมีตกค้างจากอาหารที่รับประทาน การที่ประชาชนประรับประทานอาหารที่มีสารพิษตกค้าง จะส่งผลกระทบให้บุคคลดังกล่าว เกิดการเจ็บป่วย ระบบทางเดินหายใจและโรคผิวหนัง เช่น อาการแพ้และผื่นคันตามร่างกาย นอกจากนี้การใช้สารเคมีในการทำการเกษตร เช่น ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง ยังส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน ดังนั้นชมรม อสม. หมู่ที่ 5 ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการสุขภาพดีสร้างได้ สไตล์ไสอ้อ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ ลดการใช้สารเคมี หันกลับมาทำเกษตรอินทรีย์ ที่มีความปลอดภัยไปสู่ความมั่นคงทางอาหารและสุขภาพของคนในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ประชาชนมีความรู้และดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสมร้อยละ 80

80.00 80.00
2 เพื่อให้ประชาชนมีผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในชุมชน

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในชุมชน

80.00 80.00

1.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
2.เพื่อให้ประชาชนรู้จักแยะขยะและนำขยะอินทรีย์มาใช้ประโยชน์
3.ประชาชนกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง สามารถเลือกรับประทานผักปลอดสารพิษได้อย่างปลอดภัย
4.ลดการใช้ปุ๋ยเคมีและปรับปรุงคุณภาพดิน เพิ่มสภาพความสมบูรณ์ของดิน
5.ลดขยะในชุมชน
6.ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมคัดกรองสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมคัดกรองสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าป้ายโครงการ 1×3 ม. @150.- = 450.- -ค่าวิทยากร 3 ชม.ๆละ 300.-= 900.- -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 70 คนๆละ25.-=1,750.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • มีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง
  • กลุ่มเสี่ยงได้นำความรู้ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้อง
  • กลุ่มป่วยได้นำความรู้ไปใช้และควบคุมพฤติกรรมไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน
  • ประชาชนและกลุ่มเสี่ยงสามารถเลือกบริโภคผักปลอดสารพิษได้อย่างถูกต้อง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3100.00

กิจกรรมที่ 2 ผักปลอดสาร คนปลอดภัย ด้วยขยะอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
ผักปลอดสาร คนปลอดภัย ด้วยขยะอินทรีย์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าเมล็ดพันธ์ผัก 30 × 3 × 20= 3,000.- -ค่าวิทยากร 3 ชม. × 300 = 900.- -ถังน้ำหมัก30X120 = 3,600.- -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30คน×25.- = 750.- -ค่ากากน้ำตาล350X30 = 10,500.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • มีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลงร้อยละ 10
  • กลุ่มเสี่ยงได้นำความรู้ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้อง/กลุ่มป่วยได้นำความรู้ไปใช้และควบคุมพฤติกรรมไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน
  • ประชาชนและกลุ่มเสี่ยงมีผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในชุมชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18750.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,850.00 บาท

หมายเหตุ :
***ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายกันได้ตามความเหมาะสม***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ
2.ประชาชนมีผักปลอดสารพิษที่มีคุณภาพไว้รับประทานในครอบครัว


>