กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี

สำนักงาน เลขาฯกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบี

1.นายกริชอุปวงษ์
2.นางสาวนารีมาศเจ๊ะสนิ

ตำบลกะรุบี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1

ตามที่ พระราชบัญญัติประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545มาตรา 18(9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น มีมติเมื่อวันที่27 กุมภาพันธ์ 2549เห็นชอบให้จัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ซึ่งหมายถึง กองทุนสุขภาพตำบล โดยมีวัตถุประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่มีสวัสดิการชุมชนรองรับและสามารถเข้าถึงบริการ สาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง โดยการบริการจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ในระดับท้องถิ่น เป็นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นโยบายดังกล่าวยังสอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจบนหลักแนวคิดลดบทบาทของรัฐส่วนกลางในการดำเนินการเอง ซึ่งกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบีได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบีขึ้นเพื่อบริหารจัดการงานกองทุนให้เป็นไปอย่างเรียบร้อย ถูกต้องตามระเบียบหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเกิดประโยชน์สูงสุดแก่การบริหารจัดการงานกองทุน และอำนวยประโยชน์ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง

40.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ ข้อที่ 3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน ข้อที่ 4 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

1.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ ร้อยละ 90 3.จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ ร้อยละ 80 4.จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ ร้อยละ 70

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบี

ชื่อกิจกรรม
1. การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 กิจกรรมย่อย ประชุมเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ พิจารณาแผนงาน อนุมัติโครงการ อนุมัติผลการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ติดตามผลการดำเนินโครงการ และรับทราบรายงานรับ-จ่ายเงินของกองทุน เดือนตุลาคม 2563 – เดือนกันยายน 2564 -ค่าตอบแทนที่ปรึกษา จำนวน 3 คน ๆ ละ 4ครั้ง ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 4,800.- บาท -ค่าตอบแทนคณะกรรมการ จำนวน 17 คน ๆ ละ 4 ครั้งละ 400 บาท เป็นเงิน 20,400 บาท - ค่าตอบแทนอนุกรรมการ เพื่อช่วยเหลือคณะกรรมการกองทุนฯ จำนวน 19 คน ๆ ละ 4 ครั้ง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 22,800.- บาท - ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 10 คน ๆ ละ 3 ครั้ง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน9,000.- บาท -ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 5 คน ๆ ละ 2 ครั้ง ๆ ละ 300 บาทเป็นเงิน3,000.-บาท 2.เดินทางไปราชการเดือนตุลาคม 2563 – เดือนกันยายน 2564 -ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 6,000.-บาท 3.จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์เดือนตุลาคม 2563 – เดือนกันยายน 2564 -ค่าจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์ 5,000.- บาท
4.ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรับรองและพิธีการเดือนตุลาคม 2563 – เดือนกันยายน 2564 4.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าอาหาร สำหรับกรณีหน่วยงานหรือบุคคลภายนอกเข้าเยี่ยมชม ตรวจเยี่ยมหรือตรวจราชการ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าอาหาร จำนวน 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ ร้อยละ 90 3.มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ ร้อยละ 80 4.จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ ร้อยละ 70

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
57000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 57,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2. จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ ร้อยละ 90
3. มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ ร้อยละ 80
4. จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ ร้อยละ 70


>