กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง

สำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมือง

๑. นายสมบูรณ์ บุญวิสูตรประธานกองทุน
๒.นายห่วงฤทธิช่วยกรรมการ
๓.นายยมนาคงศรีกรรมการ
๔.นางพัชรีสุวรรณลิขิตกรรมการ
๕.นางอารีย์สังข์ทองกรรมการ

๑.สำนักงานเทศบาลตำบลร่มเมือง๒.สถานที่ของภาคเอกชน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)

 

30.02
2 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

 

16.00
3 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)

 

18.00
4 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน)

 

10.00
5 ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ

 

6.25
6 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)

 

6.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา

ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น

6.25 50.00
2 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)

10.00 12.00
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

18.00 18.00
4 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

30.02 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติงานกองทุนฯ 1

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการกองทุน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการกองทุน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.จัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุม ๒.จัดทำหนังสือส่งเชิญประชุมคณะกรรมการ ๓.จัดเตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๔.จัดเตรียมห้องประชุม ค่าใช้จ่าย ดังนี้ ๑.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน ๓,๓๐๐ บาท ๒.ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุนและผู้ที่ได้รับมอบหมาย  เป็นเงิน ๓๗,๘๐๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.เกิดการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
๒.ร้อยละ ๘๐ ของคณะกรรมการเข้าร่วมประชุมทุกครั้ง ๓.คณะกรรมการกองทุนได้รับความรู้ในระเบียบตามประกาศกองทุนฯทุกครั้งของการประชุม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
41100.00

กิจกรรมที่ 2 จัดทำแผนกองทุน

ชื่อกิจกรรม
จัดทำแผนกองทุน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.จัดทำร่างสรุปแผนการเงิน ปี ๖๖ ๒.จัดเตรียมข้อมูลสุขภาพของประชากรในตำบลร่มเมือง ๓.กำหนดกลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วมจัดทำแผน ๔.กำหนดรูปแบบการจัดทำแผน สถานที่ และทีมจัดทำแผนกองทุนฯ ๕.ประสานทีมวิทยากร สถานที่ในการจัดกิจกรรม ๖.จัดทำหนังสือเชิญประชุมพร้อมแบบตอบรับ ค่าใช้จ่าย ดังนี้ ๑.ค่าตอบแทนวิทยากร          เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท ๒.ค่าอาหารกลางวัน             เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท ๓.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท ๔.ค่าห้องประชุม                 เป็นเงิน  ๕,๐๐๐ บาท ๕.ค่าชุดกระเป๋าเอกสารฯ       เป็นเงิน  ๑,๗๐๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.เกิดแผนงานกองทุนฯประจำปี พ.ศ.๒๕๖๖ ๒.เกิดกระบวนการเรียนรู้การพัฒนาโครงการผ่านระบบโปรแกรมกองทุนฯ ๓.มีการเข้าถึงงบประมาณกองทุนฯจากหน่วยงานหรือกลุ่ม องค์กรในชุมชน เพิ่มขึ้นอย่างน้อย ๒ หน่วยจากปี ๖๕

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 54,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.ร้อยละของเงินคงเหลือในกองทุนฯลดลงจากปี ๖๕
๒.เกิดโครงการเด่ด หรือ นวตกรรม


>