กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เทศบาลเมืองปากช่อง ประจำปีงบประมาณ 2565

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เทศบาลเมืองปากช่อง ประจำปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

เทศบาลเมืองปากช่อง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

พื้นที่ในเขตเทศบาลเมืองปากช่อง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการเฝ้าระวังคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดให้ความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด -19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนำโรคระบาดในชุมชน
2.เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงและครอบครัวรวมถึงบุคคลในท้องถิ่นพื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด -19
3. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด 19

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมสมาชิก (ทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนทหน่วยบริการอสม. และแกนนำชุมชนเพื่ออบรมชี้แจงกระบวนการและมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 นำไปดำเนินการตามโครงการ
  2. อปท. ออกคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่หน่วยบริการ / อสม. แกนชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่ร่วมควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่โดยการดำเนินการคัดกรองเชิงรุกด้วย ATK ในพื้นที่และกลุ่มบุคคลที่มีความเสี่ยงสูง
  3. อปท. กำหนดพื้นที่และกลุ่มบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงโดยร่วมกับหน่วยบริการในพื้นที่ประสานรายชื่อผู้เสี่ยงสูงและประเมินความเสี่ยงของบุคคลผู้สัมผัสใกล้ชิดกำหนดให้เข้าสู่การตรวจคัดกรองเชิงรุกจากหน่วยบริการสาธารณสุขจัดทำทะเบียนผู้รับการคัดกรองประกอบด้วยข้อมูลชื่อสกุลเลขบัตรประชาชนวันที่ตรวจ
  4. แกนนำชุมชนอสม. ให้ความรู้ป้องกันโรคติดเชื้อโควิด -19 หรือผู้เกี่ยวข้องออกกำกับติดตามเฝ้าระวังประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงอย่างต่อเนื่องโดยการให้ความรู้สร้างความตระหนักในการป้องกัน
  5. มีการติดตามหรือให้กลุ่มที่ได้รับการตรวจ ATK สังเกตอาการตนเองหลังการตรวจอีก 3-5 วันหากมีอาการไข้ไอความผิดปกติทางสุขภาพให้รีบแจ้งอสม. /PCC./ รพ. เพื่อประเมินอาการโดยอาจมีการตรวจด้วย ATK ซ้ำ
  6. หากมีพบผลการตรวจ ATK เป็นบวกให้พิจารณาประสานหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่เพื่อรับการดูแลรักษาตามมาตรฐานต่อไป
  7. สรุปผลดำเนินงานโครงการนำส่งคณะกรรมการกองทุนฯ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการเฝ้าระวังคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดให้ความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด -19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนำโรคระบาดในชุมชน 2.เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงและครอบครัวรวมถึงบุคคลในท้องถิ่นพื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด -19
  2. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด 19
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 500,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการเฝ้าระวังคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดให้ความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด -19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนำโรคระบาดในชุมชน
2.เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงและครอบครัวรวมถึงบุคคลในท้องถิ่นพื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด -19
3. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด 19


>