กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

เทศบาลเมืองปากช่อง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

เขตเทศบาลเมืองปากช่อง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าของประชาชน
  1. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าของประชาชน
  2. เพื่อใช้เป็นสื่อรักษาในลักษณะการฝึกออกกำลังกายในน้ำและการรักษาด้วยคุณสมบัติของน้ำ
  3. เพื่อชะลอความเสื่อมของข้อเข่าลดอาการปวดและเพิ่มประสิทธิภาพในการทรงตัว
  4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพผ่อนคลายความเครียด
  5. เพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ
30.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการฯ

ชื่อกิจกรรม
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดาเนินการ
1. เสนอโครงการฯ เพื่อขออนุมัติงบประมาณจากคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่อง 2.ดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่อง
3. ขออนุมัตินําเนินการโครงการฯ
4. ขออนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง / ยืมเงินตามระเบียบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
5. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
6. ประชาสัมพันธ์โครงการฯ
7. จัดเตรียมเอกสารวัสดุอุปกรณ์สถานที่ที่ใช้ในการดำเนินงานตามโครงการ
8. ดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการฯ โดยประกอบไปด้วยกิจกรรมดังนี้
    8.1 กิจกรรม Work shop ครั้งที่ 1 จำนวน 2 วันประกอบด้วย-การประเมินภาวะสุขภาพการทดสอบสมรรถภาพทางกายประเมินปัญหาข้อเข่า-การบรรยายสาธิตและฝึกปฏิบัติ
    8.2 กิจกรรมการฝึกปฏิบัติต่อเนื่องสัปดาห์ละ 1 ครั้งจำนวน 8 สัปดาห์ 2.8.3 กิจกรรม Work shop ครั้งที่ 2 จำนวน 1 วัน-การประเมินภาวะสุขภาพ-การทดสอบสมรรถภาพทางกาย-ประเมินปัญหาข้อเข่า-สรุปผลการเปลี่ยนแปลง
9. สรุปและรายงานผลการดำเนินการตามโครงการฯ 2.10 ส่งคืนเงินคงเหลือให้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่อง (ถ้ามี) งบประมาณ รายการกิจกรรม Work shop ครั้งที่ 1 จำนวน 2 วัน  127,000บาท 1.ค่าตอบแทนในการตรวจภาวะสุขภาพ / การทดสอบสมรรถภาพทางกายการประเมินปัญหาข้อเข่า 10,000 2.ค่าสมนาคุณวิทยากร (บรรยาย 1 คน x 5 ชั่วโมง x 600 บาท = 3,000 บาท)-(สาธิตและฝึกปฏิบัติ 3 กลุ่ม x 2 คน x 6 ชั่วโมง x 600 บาท = 21,600 บาท) 24,600 3.ค่าที่พักวิทยากร (ห้องพักคู่ 3 ห้อง x 2 คืน x 1,500 บาท) (เบิกจ่ายตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการฯ ) 9,000 4.ค่ายานพาหนะวิทยากร (เบิกจ่ายตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการฯ ) 5000 5.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (2 วัน x 2 มื้อ x 70 คน x 50 บาท) 14000 6.ค่าอาหาร (2 วัน x 1 มื้อ x 70 คน x 150 บาท) 21000 7.ค่าวัสดุอุปกรณ์ (50 ชุด x 40 บาท)-ค่าสมุด (จํานวน 50 เล่ม x 10 บาท = 500 บาท)-ค่าปากกา (จํานวน 50 ด้าม× 5 บาท = 250 บาท) 4-แฟ้มใส่เอกสาร (แบบกระดุม) (จำนวน 50 อัน× 25 บาท = 1,250 บาท) 2,000 8.ค่าวัสดุอุปกรณ์ในโครงการฯ 9 1,040 9.ค่าจัดทําเอกสารประกอบการอบรม (50 ชุด x 50 บาท) 2,500 10.ค่าอุปกรณ์สาธิตและฝึกปฏิบัติ Water Noodle (50 อัน× 250 บาท = 12,500 บาท) Water dumbbell (50 คู่× 300 บาท = 15,000 บาท) 27,500 11.ค่าป้ายไวนิลโครงการฯ (ขนาด 1.2 เมตร x 2.4 เมตร)  360 12ค่าเช่าห้องประชุมและสระว่ายน้ำ (2 วัน) 10,000 กิจกรรมการฝึกปฏิบัติต่อเนื่องสัปดาห์ละ 1 ครั้งจำนวน 8 สัปดาห์  62,400 1.ค่าเช่าสระว่ายน้ำต่อเนื่อง (8 ครั้ง x 3,000 บาท) 24,000 2.ค่าสมนาคุณวิทยากร (8 ครั้ง x 3 ชั่วโมง x 600 บาท) 14,400 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (8 วัน x 1 มื้อ x 60 คน x 50 บาท) 24,000 กิจกรรม Work shop ครั้งที่ 2 จำนวน 1 วัน
1.ค่าตอบแทนในการประเมินภาวะสุขภาพ / การทดสอบสมรรถภาพทางกายการประเมินปัญหาข้อเข่า 10,000 2.ค่ายานพาหนะวิทยากร (เบิกจ่ายตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการฯ ) 5,000 3.ค่าสมนาคุณวิทยากร (6 ชั่วโมง x 600 บาท) 3,600 4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (2 มื้อ x 60 คน x 25 บาท) 3,000 5.ค่าอาหาร (1 มือ x 60 คน× 100 บาท) 6,000

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนได้รับการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีการใช้น้ำเป็นสื่อรักษาในลักษณะการฝึกออกกำลังกายในน้ำและการรักษาด้วยคุณสมบัติของน้ำ
3. สามารถชะลอความเสื่อมของข้อเข่าลดอาการปวดและเพิ่มประสิทธิภาพในการทรงตัว
4. ประชาชนได้รับส่งเสริมสุขภาพผ่อนคลายความเครียด
5. ผลการประเมินความปวดหลังใช้น้ำเป็นสื่อในการรักษาโดยใช้ pain score อยู่ในระดับที่ดีขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
217000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 217,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนได้รับการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีการใช้น้ำเป็นสื่อรักษาในลักษณะการฝึกออกกำลังกายในน้ำและการรักษาด้วยคุณสมบัติของน้ำ
3. สามารถชะลอความเสื่อมของข้อเข่าลดอาการปวดและเพิ่มประสิทธิภาพในการทรงตัว
4. ประชาชนได้รับส่งเสริมสุขภาพผ่อนคลายความเครียด
5. ผลการประเมินความปวดหลังใช้น้ำเป็นสื่อในการรักษาโดยใช้ pain score อยู่ในระดับที่ดีขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50


>