กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการป้องกันเฝ้าระวังโรคไวรัสโคโรนา(Covid-19)โรงเรียนเทศบาล1(บ้านหนองสาหร่าย)

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันเฝ้าระวังโรคไวรัสโคโรนา(Covid-19)โรงเรียนเทศบาล1(บ้านหนองสาหร่าย)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

โรงเรียนเทศบาล1(บ้านหนองสาหร่าย)

โรงเรียนเทศบาล1(บ้านหนองสาหร่าย)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล
ตามพระราชกำหนดฉุกเฉินฉบับที่ ๓ คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา cact (Covid-๑๙) ๔/๒๕๖๐ เรื่องแนวทางปฏิบัติตามข้อกําหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๘ (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยให้หัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินและพนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรการป้องกันโรคโดยเคร่งครัดเนื่องด้วยสถานการณ์การเกิดและระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา bow (Covid-an) พบว่ามีรายงานการระบาดของโรคดังกล่าวเป็นวงกว้างในพื้นที่หลายจังหวัดอีกทั้งมีรายงานการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อเพื่อเป็นการป้องกันการระบาดที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่โรงเรียนสำนักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอจึงเห็นชอบมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์จากโรคไวรัสโคโรนา bond boa ๒๐๓๙ (Covid-๑๔) ให้สถานศึกษาดำเนินการป้องกันโรคตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัดเมื่อสถานศึกษากลับมาเปิดสอนตามปกติซึ่งการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๕๕๙ (Covid-๑๙) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้คำแนะนำการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนเทศบาล ๓ (บ้านหนองสาหร่าย) ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านหนองสาหร่าย) มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลนักเรียนจึงต้องมีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา: ๒๕๓๙ (Covid-๓๔) ให้ทันต่อเหตุการณ์เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดในวงกว้างดังนั้นโรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านหนองสาหร่าย) จึงได้จัดทำโครงการป้องกันเฝ้าระวังโรคไวรัสโคโรนา

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่นักเรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-)
2. เพื่อทำการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COMID-๑๙)

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,148
กลุ่มวัยทำงาน 53
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2021

กำหนดเสร็จ 01/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้คัดกรองและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้คัดกรองและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อยกิจกรรม
๑. ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการแก่คณะครู
๒. กิจกรรมคัดกรองนักเรียนเพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๐๙ Covid-) ๓. กิจกรรมเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing)
๓.๑ จัดสถานที่เพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๐๙ (Covid-๑๙) โดยมีระยะห่าง
๔.๔ คู่มือความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COMD-๑๙) สำหรับผู้ปกครอง ๕. สรุปและประเมินผลโครงการพร้อมรายงานผลต่อกองทุนสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย 5 เมตร
๔. กิจกรรมให้ความรู้
5. ไวนิลประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (CCID.)
๔๒ โปสเตอร์ให้ความรู้เรื่องวิธีการล้างมือ ๔. โปสเตอร์ให้ความรู้เรื่องหลัก
๕ ประการอาหารปลอดภัยป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-) ระบุวัน / ช่วงเวลา W .. be ตลอดระยะเวลาาเนินการตลอดระยะเวลาเนินกาตลอดระยะเวลาาเนินการ 1.8

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2564 ถึง 1 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เชิงปริมาณ ๑. นักเรียน1148 คน ครูอาจารย์ 50 คน นักการภารโรงดด ๘ คน
เชิงคุณภาพ
1.ลดความตื่นตระหนักของนักเรียนผู้ปกครองและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพเบื้องต้นของตนเองให้ห่างไกลโรคไวรัสโคโรน่า COVID-19)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
89070.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 89,070.00 บาท

หมายเหตุ :
89,070.00

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เชิงปริมาณ ๑. นักเรียน1148 คน ครูอาจารย์ 50 คน นักการภารโรงดด ๘ คน
เชิงคุณภาพ
1.ลดความตื่นตระหนักของนักเรียนผู้ปกครองและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพเบื้องต้นของตนเองให้ห่างไกลโรคไวรัสโคโรน่า COVID-19)


>