กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการห่างไกลยุงร้ายด้วยสมุนไพรรอบตัว

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

โรงพยาบาลปากช่องนานา(คลินิคหมอครอบครัวหนองกะจะ)

ศูนย์บริการคลินิคหมอครอบครัวหนองกะจะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผลยุงเป็นแมลงที่เป็นพาหะนำโรคอย่างหนึ่งที่เป็นต้นตอของปัญหาด้านสาธารณสุขโลกซึ่งบางชนิดสามารถนำาโรคมาสู่ทั้งคนและสัตว์ได้และสร้างให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศเช่นโรคมาลาเลียโรคเท้าช้างโรคไข้เลือดออกโรคชินกุนยาเป็นต้นโดยในโลกนี้มีมากกว่า ๔๐๐๐ ชนิดโดยจาสถิติขององค์การอนามัยโลกพบว่าการสูญเสียชีวิตของประชากรโลกมีสาเหตุมาจากยุงเป็นอันดับ 3 มีค่าเฉลี่ยออกมาว่าอาจมีคนเสียชีวิตจากยุงกว่านาทีละ-คนโดยยุงมีแหล่งเพาะพันธุ์ในน้ำนิ่งมักจะระบาดมากในช่วงฤดูฝนโรคที่เกิดจากยุงถือเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขไทยมาโดยตลอดโดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกงมียุงลายเป็นพาหะโดยการแพร่ระบาดของไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่องและมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วยโดยในประเทศไทยมีรายงานการะบาดของไข้เลือดออกมากว่า 30 ปีและเนื่องจากประเทศไทยมีลักษณะประเทศเขตร้อนชื้นจึงทำให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงและทำให้มีผู้ป่วยจากยุงตลอดปีในช่วงเดือนตุลาคม ๒๕๖๒ เดือนกันยายน ๒๕๖๓ ในเขตรับผิดชอบของคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะที่ประกอบไปด้วย ๕ ชุมชน ได้แก่ ชุมชนหนองกะจะชุมชนหนองกะจะชุมชนวัดเทพสถิตย์ชุมชนมอดินแดงและชุมชนคุรุสามัคคีได้มีผู้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก ๒๐ รายโรคชิคุนกุนยาจำนวน ๑๐ รายดังนั้นทางคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการห่างไกลยุงร้ายด้วยสมุนไพรรอบตัวโดยใช้ภูมิปัญญาไทย แต่เดิมในการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในครัวเรือนมาใช้ในการป้องกันยุงและแปรรูปสมุนไพรเพื่อให้สามารถเก็บไว้ใช้ให้นานขึ้นได้และเลือกใช้สมุนไพรไทยสะดวกและหาได้ง่ายตามครัวเรือนเช่นตะไคร้หอมผิวมะกรูดผิวส้มผิวส้มโอใบโหรพา

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

วัตถุประสงค์ /
๑. ตัวชี้วัดเพื่อให้ความรู้แก่อสม. และผู้ที่สนใจสามารถนำความรู้ไปใช้เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากยุงได้
๒. เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้และเผยแพร่ในชุมชนได้
๓. เพื่อให้ครัวเรือนสามารถลดและป้องกันโรคที่มียุงเป็นพาหะยังได้
๔. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำสมุนไพรรอบรอบตัวมาประยุกต์เพื่อสร้างอาชีพหรือดูแลตนเองและคนในครอบครัวได้

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้และอบรมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้และอบรมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีาเนินงานประชุมวางแผนงานและชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงานในการอบรมและฝึกปฏิบัติ
๑. ประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถรับข่าวสารรายละเอียดการเข้าร่วมอบรมได้
๒. อบรมให้ความรู้กับอสม. และผู้ที่สนใจเกี่ยวกับภัยร้ายจากยุงสมุนไพรไล่ยุงและฝึกปฏิบัติกาสมุนไพรมาแปรรูปไล่ยุง
๓. สรุปงานผลการดำเนินโครงการ งบประมาณแหล่งงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่องค่าอาหารกลางวันจํานวน
moon Xcoot-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒ ๐๐ คน ๕๐ บาท คําวิทยากรกลุ่มภาคเช้าวโมงละ 500 บาท X ชั่วโมง X คคน
๔. ค่าวัสดุอุปกรณ์ทำธูปไล่ยุง ..
เปลือกยางบง ๒ กิโลกรัม X ๕๐ บาท
๔.๒. ผงขี้เลื่อย ๒ กิโลกรัม X ๓๕๐ บาท ๔.๑. ตะไคร้หอม 5 กิโลกรัม X moo บาท
๔. ผิวมะกรูด 5 กิโลกรัม X 4000 บาท ๔.๕ แป้งข้าวเหนียว ๒ ง X ๔๕ บาทเป็นเงิน 10,00 เป็นเงิน 5,000 บาทเป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาทเป็นเงิน ๗๐๐ บาทเป็นเงินว ๐ บาทเป็นสน ๗๐๐ บาทเป็นเงิน 500 บาทเป็นเงิน ๙๐ บาท ๖. นํ้ามันหอมระเหย
4. ค่าป้ายโครงการขนาด ๒๔๒.๕ จำนวน ๓ ป้ายเป็นเงินเบเงิน ๕๐๐
(ค่าใช้จ่ายสามารถถัวเฉลี่ยได้ทั้งงบประมาณและคน) รวมเป็นเงิน ๒๕,๔๔๐ บาทได้รับบาทบาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มกราคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนำสมุนไพรมาใช้เพื่อป้องกันยุง
๒. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ได้อย่างถูกต้อง
๓. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาแปรรูปเพื่อเป็นประโยชน์แก่ตนเองและคนในชุมชนได้แ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25440.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,440.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนำสมุนไพรมาใช้เพื่อป้องกันยุง
๒. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ได้อย่างถูกต้อง
๓. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาแปรรูปเพื่อเป็นประโยชน์แก่ตนเองและคนในชุมชนได้


>