กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาคประชาชน ประจำปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

เทศบาลเมืองปากช่อง/กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

เขตเทศบาลเมืองปากช่อง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาและการ ฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ภาคประชาชน
  1. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาและการ ฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ภาคประชาชน
  2. เพื่อพัฒนาทีมภาคีเครือข่ายแก่ภาคประชาชนให้มีทักษะความรู้และทัศนคติที่ดี
    3 .เพื่อพัฒนาแก่ภาคประชาชนให้
  3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมกับทีมภาคีเครือข่ายในการดูแลสุขภาพในชุมชน สูง
30.00 85.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้หลักสูตรอสม.หมอประจำบ้านและหมอคนที่3

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้หลักสูตรอสม.หมอประจำบ้านและหมอคนที่3
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ
1.อบรมให้ความรู้หลักสูตรอสม.หมอประจำบ้านและหมอคนที่3
1.1.วิชาอาสาสมัครประจำครอบครัว อสค. และบทบาทอสม.หมอประจำบ้านพี่เลี้ยงอาสาสมัครประจำ ครอบครัว
1.2.การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค
1.3. ความรู้ด้านนักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
1.4 ภูมิปัญญาไทย สมุนไพร และการใช้กัญชาทางการแพทย์
1.5.การตรวจATK งบประมาณ จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่อง จำนวน 26,900บาท รายละเอียดดังนี้
กิจกรรมที่1 1. ค่าอาหารกลางวันจํานวน 120คนx100บาทx1วันเป็นเงิน 12,000 บาท 2. ค่าอาหารว่างจํานวน 120คนx50บาทx1วัน เป็นเงิน 6,000 บาท 3. ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับใช้ในการประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 120 ชุดๆละ20บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
4.ค่าป้ายโครงการขนาด2x2.5 จํานวน ๑ ป้าย เป็นเงิน 500 บาท 5. ค่าวิทยากรจํานวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
6.คู่มือประกอบการบรรยายชุดละ20บาทจำนวน 120 ชุดเป็นเงิน 2,400 บาท ค่าใช้จ่ายสามารถถัวเฉลี่ยได้ทั้งงบประมาณและคน รวมเป็นเงิน 26,900 บาท (สองหมื่นหกพันเก้าร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจทักษะด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค 2.สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้และความสามารถในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ร่วมกับภาคีเครือข่ายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 4. ผู้เข้าอบรมเข้ารับการตรวจATKได้ด้วยตนเองและนำไปถ่ายทอดให้กับประชาชนได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 26,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจทักษะด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค
2.สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้และความสามารถในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ร่วมกับภาคีเครือข่ายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ผู้เข้าอบรมเข้ารับการตรวจATKได้ด้วยตนเองและนำไปถ่ายทอดให้กับประชาชนได้


>