กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ สุขภาพดี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

โรงพยาบาลปากช่องนานา(คลินิคหมอครอบครัวหนองสาหร่าย)

ณ.ศาลาการเปรียญวัดจันทึก ต.หนองสาหร่าย อ.ปากช่อง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผลเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาสุขภาพอนามัยคือการที่ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งทางด้านร่างกายจิตใจและสังคมมีการส่งเสริมป้องกันรักษาและฟื้นฟูสุขภาพประชาชนเริ่มตั้งแต่ระดับบุคคลครอบครัวชุมชนและภาคประชาสังคมต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการดูแลสภาพของตนเองครอบครัวชุมชนของตนเองและสามารถจัดการดูแลสุขภาพสิ่งแวดล้อมและสังคมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีและเป็นสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุขการข้าระบบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในทุกกลุ่มวัยโดยเริ่มต้นจากการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกคนครอบครัวและชุมชนทุกภาคส่วนภายใต้แนวคิดตำบลจัดการสุขภาพด้วยการพัฒนาศักยภาพตำบลจัดการสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าวได้อย่างเป็นรูปธรรมด้วยการจัดการของชุมชนเองตำบลจัดการสุขภาพที่เป็นรูปแบบวิธีการจัดการใหม่ (New Approach & New Management) ที่มีการนำศักยภาพภูมิปัญญาและการรวมพลังของชุมชนท้องถิ่นท้องที่มาบูรณาการให้เกิดทิศทางการทำงานที่บูรณาการและสอดคล้องกันของภาคส่วนต่างๆที่อยู่ในระดับตำบลโดยมีการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐเอกชนองค์กรสาธารณประโยชน์โดยใช้การวิเคราะห์สถานการณ์วิเคราะห์ปัญหาศึกษาข้อมูล / สถานการณ์ต่างๆที่จำเป็นมาจัดทำวิสาหกิจชุมชนที่เน้นการส่งเสริมให้มีการสร้างรายได้สร้างสุขภาพของบุคคลครอบครัวและชุมชนเพื่อการรักษาสิ่งแวดล้อมการลดและป้องกันการเกิดโรคการส่งเสริมสุขภาพการปรับพฤติกรรมสุขภาพตลอดจนการแก้ปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีและยั่งยืนในการนี้ทางคลินิกหมอครอบครัวหนองสาหร่ายได้เห็นถึงศักยภาพของชุมชนการมีส่วนร่วมแสดงความเป็นเจ้าของซึ่งกันและกันจึงได้จัดทำโครงการตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบสุขภาพทุกชิมิสุขเพื่อเป็นสร้างเสริมให้ประชาชนในระดับบุคคลครอบครัวและชุมชนมีความรู้ความสามารถในการดูแลตนเองได้รวมถึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกกลุ่มวัย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างและพัฒนาศักยภาพทีมงานตำบลจัดการสุขภาพในการบริหารจัดการปัญหาสุขภาพอย่างเป็นระบบ
2. เพื่อคัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยงในกลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและส่งต่อเพื่อการแก้ไขปัญหาและรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อสร้างระบบและกลวิธีในการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและแก้ไขปัญหาสุขภาพของพื้นที่โดยชุมชนภายใตำบลจัดการสุขภาพ
4. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีและลดอัตราเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรคติดต่อและปัญหาสุขภาพในพื้นที่โดยบูรณาการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้และคัดกรองกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้และคัดกรองกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การดำเนินการ กิจกรรมที 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ กิจกรรมที่ 2 1. อบรมให้ความรู้แก่ทีมตำบลจัดการสุขภาพและประชาชนแกนนำ (อสค.)
2. จัดจุดรับข่าวสารตำบลจัดการสุขภาพเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค
3. กิจกรรมรวมพลังสามัคคีสร้างสุขภาพดีสร้างชุมชน กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมที่ 1 ประธาน / ถนนชุมชนจํานวน 35 คน กิจกรรมที่ 2 ผู้นำชุมชนและเครือข่ายสุขภาพประชาชนแกนน่า (อสส.) จํานวน 150 คน งบประมาณ
1. ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง 150 คน ๆ ละ 150 บาท
2. ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรม 150 คน ๆ ละ 30 บาท
3 ค่าวิทยากรอบรมชั่วโมงละ 600 บาท แหล่งงบประมาณ: กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่องกิจกรรมที่
1. ค่าอาหารว่างประชุมชี้แจงประธานแกนนำชุมชน 35 คน ๆ ละ 25 บาทเป็นเงินกิจกรรมที่
2 วิทยากรบรรยาย 1 ท่าน 3 ชม. (600 x 31,800) วิทยากรประจํางาน 4 ฐาน ๆ ละ 1 ท่าน ๆ ละ 5 ซม. (600 X 4 X 3-7,200)
4. ค่าเกียรติบัตรพร้อมกรอบหมู่บ้านตำบลต้นแบบ 10 น ๆ ละ 150 บาทเป็นเงิน 22,500 บาทเป็นเงิน 4,500 บาทเป็นเงิน 9,000 บาท 875 บาทเป็นเงิน 1,500 บาท รวมเป็นเงิน 38,375 บาทสามหมื่นแปดพันสามร้อยเจ็ดสิบหาบาท)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ภาคีเครือข่ายระดับตำบลจัดการสุขภาพได้รับการส่งเสริมพัฒนาสนับสนุนและสามารถจัดการขภาพด้วยตนเองร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
38375.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 38,375.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>