กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนบ้านปลักธงร่วมใจป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์

อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนบ้านปลักธง

1. นางขวัญใจ สุขสวัสดิ์ โทร. 083 183 7860
2. นางถนอม นิลสุวรรณ โทร. 081 897 6413
3. นางวีนา ทองประดับเพ็ชร โทร. 089 654 5327
4. นางสาวกานดา สุขวารินทร์ โทร. 093 760 1251
5. นายมนูญ ชูกำเนิด โทร. 081 698 6221

ชุมชนบ้านปลักธง ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง

 

40.00

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโคโรน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นหนักของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ ตัวไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดอาการไข้สูงจาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1-3% ร้อยแรงน้อยกว่า SAR ซึ่งมีอัตราการตาย 10 % ดังนั้น มาตรการการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็นด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรงออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮออล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี การไม่นำเอามือมาป้ายหรือ จับหน้า ความรู้และเข้าใจการดำเนินไปของโรค เป็น สิ่งสำคัญนั้น

ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนบ้านปลักธง เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อป้องกันการระบาดของโรคและการดูแลสุขภาพของตนเอง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

40.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อม และวางแผนการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการ

ค่าใช้จ่าย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน x 25 บาท x 1 มื้อ
เป็นเงิน 250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
250.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ทำเจลแอลกอฮอล์ และเดินรณรงค์ให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ทำเจลแอลกอฮอล์ และเดินรณรงค์ให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • อบรม ให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมายในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19)
  • ทำเจลแอลกอฮอล์
  • เดินรณรงค์ให้ความรู้ประชาชน(แจกแผ่นพับ) ให้คำแนะนำการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเอง เรื่องไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ค่าใช้จ่าย
1. ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน x 600 บาท x 3 ชั่วโมง
เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (รวมเจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง) จำนวน 30 คน x 25 บาท x 1 มื้อ
เป็นเงิน 750 บาท
3. ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม (รวมเจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง) จำนวน 30 คน x 60 บาท x 1 มื้อ
เป็นเงิน 1,800 บาท
4. ค่าป้ายไวนิล จำนวน1 ผืน x ขนาด 2 x 1.5 เมตร x 150 บาท
เป็นเงิน 450 บาท
5. ค่าแผ่นพับให้ความรู้ จำนวน 100 ใบ x 5 บาท
เป็นเงิน 500 บาท
6. ค่าหน้ากากอนามัย จำนวน 10 กล่อง (50ชิ้น) x 125 บาท
เป็นเงิน 1,500 บาท
7. ค่่าเครื่องจ่ายเจลอัตโนมัติพร้อมวัดอุณหภูมิ จำนวน 2 เครื่อง x 2,000 บาท
เป็นเงิน 4,000 บาท
8. ค่าเครื่องพ่นแอลกอฮอล์ (ปืนพ่นแอลกอฮอล์) จำนวน 2 เครื่อง x 1,000 บาท
เป็นเงิน 2,000 บาท
9. ค่าจัดซื้อวัสดุ-อุปกรณ์ทำเจล จำนวน 4 ชด x 3,000 บาท
เป็นเงิน 12,000 บาท
10. ค่าภาชนะบรรจุเจล เป็นเงิน 2,000 บาท

วัสดุในการทำเจล (ได้ 1,000 มิลลิลิตร)
1. Ethanol 95% - 750 มล.
2. Glycerin - 9 กรัม
3. 2% Lanolin - 9 กรัม
4. Triethanolamine 99% (TEA)- 0.75 กรัม
5. Carbopol 940 - 3.6 กรัม
6. น้ำสะอาด - 225 มล.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26800.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการทำงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการทำงาน

ค่าใช้จ่าย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน x 25 บาท x 1 มื้อ
เป็นเงิน 250 บาท
2. ค่าจัดทำเอกสารสรุปโครงการ เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีเจลแอลกอฮอล์ล้างมือสามารถป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)
2. ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคระบาด โดยเริ่มจากตนเอง
3. ลดและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ที่ระบาดขึ้นเป็นระลอกใหม่







.


>