กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ตามนโยบายโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันพลัส ประจำปีงบประมาณ 2565

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ตามนโยบายโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันพลัส ประจำปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

โรงพยาบาลปากช่องนานา(คลินิกหมอครอบครัวประปา)

คลินิกหมอครอบครัวประปา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ลักการและเหตุผลจากนโยบาย Thailand 4. )
โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่นคงมั่งคั่งยั่งยืนและทิศทางหนึ่งคือการยกระดับคุณค่ามนุษย์โดยมีการกำหนดคุณลักษณะของคนไทย 4.0 คือคนไทยมี IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่ามาตรฐานภายใน 5 ปีและร้อยละ 70 ของเด็กไทยมีคะแนน TO ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานโดยเฉพาะใน 1,000 วันแรกของชีวิตนับตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงสองขวบปีแรกเป็นช่วงทองของเด็กที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาการทางสมองเพราะเป็นช่วงทีโครงสร้างสมองมีการพัฒนาสูงสุดอีกทั้งการสร้างเซลล์สมองและการเชื่อมโยงระหว่างเซลล์สมองเกิดเป็นโครงข่ายใยประสานนับล้านโครงข่ายทำให้เกิดการสื่อสารระหว่างเซลล์อย่างมีประสิทธิภาพมีผลต่อพัฒนาการทางสมองของเด็กส่งผลต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพก็ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการด้านต่างๆนอกจากเด็กสองขวบปีแรกแล้วนั้นจะต้องดูแลต่อไปจนถึงอายุ 5 ขวบเพื่อให้เด็กได้รับการเตรียมพร้อมของสมองร่วมกับพัฒนาทักษะของเด็กโดยกระบวนการกระตุ้นผ่านกิจวัตรประจำวันในรูปแบบกันกอดเล่นเล่าเฝ้าฟันที่เหมาะสมซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการสร้างเด็กไทยให้มีคุณภาพดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยจึงเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่นมารดาและทารกปลอดภัยปราศจากแวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพที่แข็งแรงจากสถานการณ์ผลการค้าเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กของจังหวัดนครราชสีมามีหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ในปี 2554 จำนวน 5,083 คนทารกแรกเกิดมีชีพปี 2560 จํานวน 9,257 คนจำนวนเด็กแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมปี 2564 จํานวน 564 คนคิดเป็นร้อยละ 6.09 ซึ่งทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมจะส่งผลต่อพัฒนาการทางด้าน IDEO และการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทารกเกอายุต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนคิดเป็นร้อยละ 75.90 ในสวนพัฒนาการเศก 0-5 ปีในปี 2544 เก 0-5 ปีมีพัฒนาการนวัยร้อยละ 97.25 พบสงบร้อยละ 2.75 จากสถานการณ์ผลการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กของคลินิกหมอครอบครัวประบ่ามีหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ในปี 2554 จํานวน 30 คนทารกแรกเกิดมีชีพปี 2564 มีจํานวน 37 คนจํานวนเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมปี 2554 จํานวน 1 คนคิดเป็นร้อยละ 2.70 ซึ่งทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมจะส่งผลต่อพัฒนาการทางด้าน IC EQ และการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทารกเด็กอายุต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 6 เดือนคิดเป็นร้อยละ 88.59 ในส่วนพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีในปี 2564 เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 98.78 พบเสงสัยล่าช้าร้อยละ 1.22 10 ทางคลินิกหมอครอบครัวประปาได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กตามนโยบายโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันพลัสประจำปีงบประมาณ 2555 ขึ้นเพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ตั้งแต่

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/01/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ตามนโยบายโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันพลัส ประจำปีงบประมาณ 2565

ชื่อกิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ตามนโยบายโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันพลัส ประจำปีงบประมาณ 2565
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1
จัดอบรม 1. ) โรงเรียนพ่อแม่การเตรียมความพร้อมสู่การเป็นพ่อแม่
2. ) จิตประภัสสรตั้งแต่นอนอยู่ในครรภ์ 3. ) กิจกรรมพาทัวร์ห้องคลอดห้องหลังคลอดและคลินิกนมแม่กิจกรรมที่
2 1. ) เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิดพร้อมทีม CF ของคลินิกหมอครอบครัวประปา 2. ) สนับสนุนนมจืด 90 วัน 180 กล่องแก่หญิงตั้งครรภ์) สนับสนุนชุดขวัญเด็กแรกเกิด
4. ) สนับสนุนชุดยาสมุนไพรสำหรับหญิงหลังคลอด 3. กลุ่มเป้าหมายกิจกรรมที่
1 1. ) หญิงวัยเจริญพันธ์ที่วางแผนจะตั้งครรภ์หญิงตั้งครรภ์และคู่สมรสพ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็กจำนวน 40 คนกิจกรรมที่ 2 1. ) หญิงตั้งครรภ์จำนวน 20 คน
2. ) หญิงหลังคลอด 20 คน
3. ) เด็กแรกเกิด 20 คน    กิจกรรมที่ 1
1. ค่าอาหารกลางวันจํานวน 40 คน x 100 บาท   เป็นเงิน 4,000 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจํานวน 40 คน x 2 มื้อ x 25 บาท  เป็นเงิน 2,000 บาท 3. ค่าวัสดุ / อุปกรณ์จํานวน 40 คน x 20 บาท  เป็นเงิน 800 บาท 4. วิทยากรบรรยายจํานวน 6 ชม. × 600 บาท  เป็นเงิน 3,600 บาท 5. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการขนาด 2 x 2.5 เมตรจํานวน 1 ป้าย  เป็นเงิน 500 บาท กิจกรรมที่ 2 1. ค่านม 90 วัน 180 กล่องาหรับหญิงตั้งครรภ์จํานวน 20 คน x 180 กล่อง X11 บาท เป็นเงิน 39,600 บาท 2. ค่าชุดสาธิตการดูแลสุขภาพแม่และเด็กที่เข้าร่วมโครงการมหัศจรรย์รแห่งชีวิตจํานวน 20 คน 400 บา 1,000 วัน เป็นเงิน 8,000 บาท 3. ค่าอุปกรณ์ใส่สมุนไพรสำหรับหญิงหลังคลอดจํานวน 20 คน x 30 บาท เป็นเงิน 600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มกราคม 2565 ถึง 28 ตุลาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ) ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ) อัตราทารกแรกเกิดหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low Birth Weight) ไม่เกินร้อยละ 7
3. ) ร้อยละ 85 ของเด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย 4. ) ร้อยละของเด็ก 0-5 ปีสูงลมส่วนร้อยละ 60
5. ) ร้อยละของเด็กแรกเกิด-ต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียวร้อยละ 60

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
59100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 59,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ) ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ) อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low Birth Weight) ไม่เกินร้อยละ 7
3. ) ร้อยละ 85 ของเค้ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
4.) ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 60
5.) ร้อยละของเด็กแรกเกิด-ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเียวร้อยละ60


>