กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

อสม.ชุมชนปางแก

ชุมชนปางแก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล ยุงจัดเป็นพาหะนำโรคไทยในประเทศไทยมียุงทั้งหมด 4 สายพันธุ์ที่เป็นพาหะนำโรคร้ายที่มีอันตรายถึงชีวิต ได้แก่ 1. ยุงกับปล่อง (Ancchales) เป็นพาหะนำโรคมาลาเรีย 2 Toscuitoes) โดยน้ำลายของยุงชนิดนี้ก่อให้เกิดอาการคันและมีตุ่มแดงผุดขึ้นบนผิวหนังสำหรับบางคนน้ำลายยุงรำคาญสามารถทำให้เกิดอาการแพ้เป็นแผลขนาดใหญ่ตามผิวหนังทั่วร่างกายซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อ 3. ยุงลาย (Mosquito) โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 สายพันธุ์ ได้แก่ ยุงลายบ้านและยุงลายสวน 3.1 ยุงลายบ้านเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (คุนกุนยา) และโรคไข้ซิก้า 3.2 ยุงลายส่วนเป็นพาหะนำโรคไข้คุนกุนย่าและใช้เลือดออกและ 4 เสีย (Tiger mosquito) เป็นพาหะโรคเท้าช้างซึ่งวงจรชีวิตยังประกอบด้วย 4 ระยะ ได้แก่ ระยะเป็นไข่ (egy stage) ระยะตัวอ่อน (Larva stage) ระยะเป็นดักแด้ (papa stage) และระยะตัวเต็มวัย (adult stage) ซึ่งยังจะมีวงจรชีวิต 9.14 วันตัวเมียอายุประมาณ 1-3 เดือนตัวผู้อายุประมาณ 6-7 วันแต่ละตัววางไปได้ 3-4 ครั้งจำนวน 50-300 ฟองต่อครั้งยุงตัวเมียเมื่ออายุได้ 2-3 วันจึงเริ่มออกหากินเลือดคนหรือสัตว์เพื่อนำเอาโปรตีนและแร่ธาตุไปใช้สำหรับการเจริญเติบโตของรังไข่หลังจากตกเลือดเมื่อไข่สุกเต็มที่ยุงตัวเมียจะหาแหล่งน้ำที่เหมาะสมในการวางไข่หลังจากวางไข่แล้วตัวเมียก็ออกดูดเลือดใหม่และวางไข่ได้อีกโดยวิธีการที่ดีที่สุดในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่นี่ยังเป็นพาหะคือการใช้หลัก 51 11 ดังนี้ 1. ที่ 1 ปิดภาชนะน้ำขัง 1 ที่ 2 ปล่อยปลากินลูกน้ำปีที่ 3 เปลี่ยนน้ำในภาชนะทุก 7 วัน, ปที่ 4 ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในละรอบบ้านและปีที่ 5 ปฏิบัติเป็นประจำจนเป็นนิสัยส่วน 15 คือการจัดภาชนะก่อนเปลี่ยนน้ำกำจัดไข่ยุงในปี พ.ศ. 2564 ชุมชนพบผู้ป่วยจากโรคที่มียุงเป็นพาหะดังนี้ 1. โรคไข้เลือดออกจํานวน 1 คนเสียชีวิต 1 คน 2. โรคใช้ปวดข้อยุงลายชิคุนกุนยา) จำนวน .......... เสียชีวิต-คน, 3, โรคไข้าจํานวน 1 คนเสียชีวิต .......... 4. โรคมาลาเรียจำนวน .......... เสียชีวิต-คนและ 5 โรคเท้าช้างจำนวน ........... เสียชีวิต ... คนซึ่งถือว่าเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญจึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้นเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความตระหนักและสามารถร่วมกันควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะใต้ส่งผลให้อัตราป่วยและอัตราหายจากโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะลดลง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/01/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ

ชื่อกิจกรรม
โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีการดำเนินการ 2.1 เสนอโครงการฯ เพื่อขออนุมัติงบประมาณจากคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาเมืองปากช่องดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่อง 2.3 ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2.2 2.4 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.5 ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 26 จัดเตรียมเอกสารวัสดุอุปกรณ์สถานที่ที่ใช้ในการดำเนินงานตามโครงการ 27 ดำเนินการตามโครงการฯ โดยประกอบไปด้วยกิจกรรมดังนี้ 2.7.1 กิจกรรมการฝึกอบรมจำนวน 4 วัน 27.2 กิจกรรมการรณรงค์การทำความสะอาดชุมชนและการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง 2.7.3 กิจกรรมการสำรวจและติดตามประเมินค่า HIC 3. กลุ่มเป้าหมาย 28 สรุปและรายงานผลการดำเนินการตามโครงการฯ 29 ส่งคืนเงินคงเหลือให้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่อง (ถ้ามี) ประชาชนในชุมชน Menur 4. ระยะเวลาดำเนินการเดือนมกราคม 2560 เดือน 5. สถานที่าเนินการ pou espoler จํานวน 25 คน พ.ศ. 2565 ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง  จังหวัดนครราชสีมา       งบประมาณจากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่อง จำนวน 21,040 บาท -กิจกรรมการฝึกอบรม รวม 6,200 บาท -ค่าป้ายไวนิล ขนาด 22.5 1ป้าย เป็นเงิน 500 บาท -ค่าสมนาคุณวิทยากร 3 ชั่วโมง600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท -ค่าอาหารและเครื่องดื่ม 1 มื้อ30คน *25 บาท เป็นเงิน 750 บาท -ค่าอาหาร 1 มื้อ25 คน 85 บาท เป็นเงิน เป็นเงิน 2,125 บาท -ค่าแผ่นพับความรู้ 30 แผ่น1บาท เป็นเงิน 30 บาท -ค่าจัดทำรูปเล่มผลงาน 2 เล่ม300บาท เป็นเงิน 600 บาท    กิจกรรมการรณรงค์การทำความสะอาดชุมชน และการกำจัดกแหล่งเพาะพันธุ์ยุง รวม 7,725 บาท -ค่าไม้กวาดทางมะพร้าว จำนวน20ด้าม *50บาท เป็นเงิน 1,000 บาท -ค่าถุงดำจำนวน 13 แพค50บาท เป็นเงิน 650 บาท -ค่าถุงมือจำนวน2กล่อง250บาท เป็ฯเงิน 500 บาท -ค่ากระชอนตักปลา 11 อัน25 บาท เป็นเงิน275 บาท -ค่าจอบ 5*200 เป็นเงิน 1,000 บาท -ค่าคราด 4 อัน * 200 เป็นเงิน 800 บาท    กิจกรรมการสำรวจและติดตามประเมินค่า HI CI รวม 880 บาท -ค่าไฟฉาย 11กระบอก * 80 บาท เป็นเงิน 880 บาท -ค่าเครื่องขยายเสียงแบบพกพา เป็นเงิน 3,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มกราคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ 7.2 ค่า HI, CI อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 7.3 อัตราบัวยจากโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะลดลงจากปีที่ผ่านมา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21040.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,040.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
7.1 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ
7.2 ค่า HI, CI อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
7.3 อัตราบัวยจากโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะลดลงจากปีที่ผ่านมา


>