กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่างทอง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตลาดนัดสุขภาพตูน้ำคลองลำเบ็ด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่างทอง

กองการศึกษา เทศบาลตำบลอ่างทอง

1. นายวิโรจน์สว่างรัตน์
2. นายประจวบเพชรบรรจบ
3. นายสุขนันท์ชูหว่าง
4. นางฉลวยด้วงเอียด
5. นายปรารมณ์แก้วกลม

ประตูระบายน้ำคลองลำเบ็ดหมู่ 4 ตำบลอ่างทองอำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (เนื้อสัตว์ ข้าว พืชผัก ผลไม้ ไขมัน) ครบ 3 มื้อ ร้อยละ 80.00 เพื่อเพิ่ม ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ ครบ3 มื้อ เพิ่มขึ้น 85.00

 

80.00
2 ครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ 70 เพื่อเพิ่มร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น80

 

70.00
3 การกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน 70 เพื่อเพิ่มร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น 80

 

70.00

ชุมชนซึ่งเป็นฐานหลักของสังคมแนวคิดการพัฒนาระดับชุมชนและท้องถิ่นให้เข้มแข็งน่าอยู่ปลอดภัยมีพัฒนาการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนทั้งด้านสังคมการศึกษาวัฒนธรรมเศรษฐกิจสิ่งแวดล้อมจะส่งผลให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาวะที่ดีชุมชนจะเข้มแข็งน่าอยู่และพึ่งตนเองได้ต้องอาศัยความรับผิดชอบการเรียนรู้ร่วมคิดร่วมทำตลอดจนอาศัยความร่วมมือไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนเพื่อปรับเปลี่ยนวิธีคิดปรับพฤติกรรมการผลิตและการบริโภคโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงรักษาสิ่งแวดล้อมเน้นการพึ่งตนเองเป็นสังคมเอื้ออาทรพึ่งพาอาศัยกันได้ระบบสุขภาพโดยการส่งเสริมสนับสนุนพฤติการณ์บุคคลสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมเพื่อเสริมสร้างให้สังคมครอบครัวและชุมชนมีสุขภาวะและมีคุณภาพชีวิตที่ดีและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อประโยชน์สุขของการอยู่ร่วมกันในแนวนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพว่าด้วยการสร้างเสริมสุขภาพให้เป็นเพื่อให้เกิดสุขภาวะทั่วทั้งสังคมลดการเจ็บป่วยความพิการและการตายที่ไม่สมควรสำหรับในพื้นที่หมู่ที่1 – 8 ตำบลอ่างทอง อำเภอศรีนครินทร์จังหวัดพัทลุงในรูปแบบต่างๆมีการดำเนินกิจกรรมที่หลากหลายทั้งด้านสุขภาพโดยตรงการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีดังนั้นเพื่อเป็นการกระตุ้นส่งเสริมให้มีการพัฒนาศักยภาพในด้านต่างๆ ของชมรมสุขภาพตลอดจนเครือข่ายสุขภาพในชุมชนเป็นการสร้างกระแสให้ประชาชนชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมกรสร้างเสริมสุขภาพเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ ครบ3 มื้อเพิ่มขึ้น 85

80.00 85.00
2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น80

70.00 80.00
3 เพื่อเพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้น 80

70.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ประชาชนตำบลอ่างทอง ที่ทำเกษตรสวนผลไม้ผักสวนครัว 40

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/05/2022

กำหนดเสร็จ 25/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมคณะทำงาน และแกนนำ ผลิตอาหารปลอดภัย
  • ค่าอาหารว่าง60ชุด ๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน1,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
19 พฤษภาคม 2565 ถึง 19 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ได้ข้อมูลการผลิตอาหารปลอดภัย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเป้าหมาย แกนนำ และคณะทำงาน กำหนดกติกา

    • ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการปลูก
    • สนับสนุนวัสดุ (ผลลิตที่ได้จากกระบวนการเรียนรู้)
  • ค่าอาหารว่าง และอาหารกลางวัน 100 ชุด ๆ ละ100 บาทเป็นเงิน10,000 บาท

  • ค่าวัสดุเพื่อการสาธิต/เรียนรู้เป็นเงิน5,910 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากรกระบวนการ2 ชม.ๆ ละ 500 บาทเป็นเงิน1,000 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากรปฏิบัติการประจำฐาน 2 ฐาน ๆ ละ 3 ชมเป็นเงิน3,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
23 พฤษภาคม 2565 ถึง 23 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ได้ความรู้เกี่ยวกับการกระบวนการปลูก
  • กลุ่มเป้าหมายได้การสนับสนุนวัสดุเพื่อการสาธิตและในการเรียนรู้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19910.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมหลัก : ติดตามการปลูก การผลิต

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมหลัก : ติดตามการปลูก การผลิต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • เก็บข้อมูล ปริมาณการผลิต
    • เก็บข้อมูล รอบการผลิต
  • ค่าตอบแทนคณะทำงานติดตามประเมินผล10 คน 1 วัน ๆ ละ 200 บาทเป็นเงิน2,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
27 พฤษภาคม 2565 ถึง 27 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ได้ข้อมูลเชิงปริมาณ
  • ได้ทราบถึงข้อมูลเกี่ยวการผลิต
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 4 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ 1 (เปิดตลาดนัดสุขภาพตูน้ำคลองลำเบ็ด )

ชื่อกิจกรรม
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ 1 (เปิดตลาดนัดสุขภาพตูน้ำคลองลำเบ็ด )
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดซุ้มพืชผัก–ผลไม้ สินค้าชุมชน
    -ค่าป้ายจำนวน 1 ป้าย ขนาด 2.4*4.8 เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างและอาหารกลางวัน จำนวน 100 ชุด ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน5,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มิถุนายน 2565 ถึง 2 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • มีการซื้อ-ขายสินค้าพืชผักผลไม้ เนื้อสัตว์ สินค้าชุมขนได้หลากหลาย และการโชว์การแสดงของคนในชุมชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

กิจกรรมที่ 5 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2

ชื่อกิจกรรม
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดซุ้มพืชผัก–ผลไม้ สินค้าชุมชน
  • ค่าอาหารว่างและอาหารกลางวัน จำนวน 100 ชุด ๆ ละ 25 บาทจำนวน 2 ชุดเป็นเงิน5,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
5 กรกฎาคม 2565 ถึง 5 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • มีการซื้อ-ขายสินค้าพืชผักผลไม้ เนื้อสัตว์ สินค้าชุมขนได้หลากหลาย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่3

ชื่อกิจกรรม
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่3
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดซุ้มพืชผัก–ผลไม้ สินค้าชุมชน
  • ค่าอาหารว่างและอาหารกลางวัน จำนวน 100 ชุด ๆ ละ 25 บาทจำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 สิงหาคม 2565 ถึง 2 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • มีการซื้อ-ขายสินค้าพืชผักผลไม้ เนื้อสัตว์ สินค้าชุมขนได้หลากหลาย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 7 ประชุมกลไกคณะทำงานและแกนนำ/สรุปผล

ชื่อกิจกรรม
ประชุมกลไกคณะทำงานและแกนนำ/สรุปผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมกลไกคณะทำงานและแกนนำ/สรุปผล

  • ค่าอาหารว่าง จำนวน 60 ชุด ๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน 1,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 สิงหาคม 2565 ถึง 25 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ทราบผลดำเนินการโครงการตลาดนัดสุขภาพตูน้ำคลองลำเบ็ด
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 41,910.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีพฤติกรรมบริโภคที่ถูกต้อง
2.เกิดศูนย์เรียนรู้ต้นแบบสุขภาพ
3.มีตลาดนัดสุขภาพของชุมชนเกิดขึ้น
4.มีตลาดนัดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
5.เกิดสุขภาพดีและมีรายได้


>