กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการดูแลส่งเสริมภาวะสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการดูแลส่งเสริมภาวะสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง

อสม.ท่ามะนาว

ชุมชนท่ามะนาว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 วัยสูงอายุสภาพร่างกายและจิตใจมีการเปลี่ยนแปลงต้องมีการปรับตัวและร่างกายเริ่มเสื่อมถอย

ผู้สูงอายุหมายถึงประชากรทั้งเพศชายและหญิงที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วคือมีประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่า 10%ของประชากรทั้งประเทศและปัญหาที่จะตามมาจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทยมีมากมาย อาทิเช่นทำให้สัดส่วนของผู้สูงอายุต่ออัตราของประชากรเพิ่มมากขึ้นในขณะที่สัดส่วนในวันทำงานลดลงผลผลิตโดยรวมก็จะลดลงไปด้วย ซึ่งจะส่งผลให้รายได้ของประเทศลดลงเกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจของประเทศผู้สูงอายุต้องเกษียณจากการงานไม่มีรายได้ ต้องอาศัยรายได้จากเงินที่เก็บออมไว้ ถ้าหากไม่มีเงินมากพอ ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาในการดำรงชีพ ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งเป็นภาระแก่สังคมที่ต้องช่วยเหลือเกื้อกูล จัดสวัสดิการต่างๆให้เหมาะสมและเพียงพอ โดยเฉพาะเมื่อถึงวัยสูงอายุสภาพร่างกายและจิตใจมีการเปลี่ยนแปลงต้องมีการปรับตัวและที่สำคัญเมื่ออายุมากขึ้นสภาพร่างกายเริ่มเสื่อมถอยลง ปัญหาด้านสุขภาพก็จะตามมา ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบริการทางการแพทย์ และคนพิการหมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไปโดยจะเห็นว่าผู้สูงอายุและผู้พิการนั้นเป็นกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะการดูแลทางด้านภาวะสุขภาพกายที่ดี จิตใจมีความสุข ไม่เครียด สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและเข้าใจความจริงของชีวิตจนเกิดความรู้ ซึ่งในชุมชนท่ามะนาวมีผู้สูงอายุ จำนวน 46 คน ผู้พิการ จำนวน 14 คน จึงได้จัดทำโครงการดูแลส่งเสริมภาวะสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการดูแลภาวะสุขภาพครบถ้วนในทุกมิติ

40.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพแบบองค์รวมให้กับผู้สูงอายุและผู้พิการ
  1. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจการดูแลภาวะสุขภาพแบบองค์รวมให้กับผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน
  2. เพื่อตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพเบื้องต้นให้กับผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมน
  3. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายให้กับผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน
  4. เพื่อดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานให้กับผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน
  5. เพื่อลดการเกิดภาวะซึมเศร้าในกลุ่มของผู้สูงอาุและผู้พิการในชุมชน
40.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 46
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 14
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมและตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมและตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ 1. เสนอโครงการฯเพื่อขออนุมัติงบประมาณจากคระกกรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่อง 2. ดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่อง 3. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 4. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. ประชาสัมพันธ์โครงการ 6. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ สถานนที่ที่ใช้ในการดำเนินงานตามโครงการ 7. ดำเนินการตามโครงการฯโดยประกอบไปด้วยกิจกรรมฝึกอบรมและตรวจคัดกรอง 8. ภาวะสุขภาพเบื้องต้นส่งเสริมการออกกำลังกาย ติดตาเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและผู้พิการ 9. สรุปและรายงานผลการดำเนินการตามโครงการ 10. ส่งคืนเงินคงเหลือให้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปากช่อง งบประมาณ 1. ค่าป้ายไวนิลโครงการฯ(ขนาด1.2x2.4)(จำนวน1ป้าย) เป็นเงิน 360 บาท 2. ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย(จำนวน5ชั่วโมงx600บาท) เป็นเงิน 3,000 บาท 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(จำนวน2มื้อx60คนx25บาท) เป็นเงิน 3,000 บาท 4. ค่าอาหารกลางวัน(จำนวน1มื้อx60คนx85บาท) เป็นเงิน 5,100 บาท 5. ค่าชุดสาธิตอาหารเพื่อสุขภาพ(จำนวน60ชุดx100บาท) เป็นเงิน 6,000 บาท 6. ค่าเครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด(จำนวน1เครื่อง) เป็นเงิน 2,500 บาท 7. ค่าเครื่องวัดไข้แบบอินฟาเรด(จำนวน1เครื่อง) เป็นเงิน 1,200 บาท 8. ค่าตอบแทนผู้นำออกกำลังกาย(จำนวน3เดือนเดือนละ1,200บาท) เป็นเงิน 3,600 บาท 9. ค่าเจลล้างมือ(จำนวน1ขวด) เป็นเงิน 100 บาท 10. ค่าจัดทำรูปเล่มรายงาน(จำนวน1เล่ม) เป็นเงิน 300 บาท 11. ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 40 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 25,200 บาท (สองหมื่นห้าพันสองร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้สูงอายุและผู้พิการในชมรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเพิ่มมากขึ้น
  2. ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
  3. ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกาย
  4. ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐาน
  5. ผู้สูงอายุและผ้พิการในชุมชนเกิดภาวะซึมเศร้าลง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุและผู้พิการในชมรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเพิ่มมากขึ้น
2. ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
3. ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกาย
4. ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐาน
5. ผู้สูงอายุและผ้พิการในชุมชนเกิดภาวะซึมเศร้าลง


>