กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ โรงเรียนบ้านยือโร๊ะ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงเรียนบ้านยือโร๊ะ

นายวิเชษฐ์ ไชยบุญมา 0862944878
นางสาวพัชรินทร์ ปิ่นคง 0899776772
นางสาวอัฟนาน ดอเล๊าะ 0822756523
นางเจ๊ะซูรีนา แวะหะยี 0630747289
นางนดา เด็งระกีนา 0828338572

โรงเรียนบ้านยือโร๊ะ และชุมชนลูโบ๊ะลาบี หมู่ที่ 1 ตำบลบาโงย อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

คุณภาพผลผลิตเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยในชุมชนลูโบ๊ะลาบี

66.00

จากการสำรวจฐานข้อมูลประชากรในปี 2565 หมู่ 1จำนวน 230 ครัวเรือน มีการทำเกษตรอินทรีย์ปลอดภัย 34 ครัวเรือน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการให้กับนักเรียน

ร้อยละ 60 ของนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่เพิ่มขึ้น

1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ปกครองนักเรียน 50

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/10/2022

กำหนดเสร็จ 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมสำรวจเครือข่ายเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยในชุมชนตำบลลูโบ๊ะลาบี

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสำรวจเครือข่ายเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยในชุมชนตำบลลูโบ๊ะลาบี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมชี้แจงและหารือร่วมกับเครือข่ายเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยในชุมชนตำบลลูโบ๊ะลาบี โดยมีครู 12 คน และนักเรียน 50 คนร่วมลงพื้นที่สำรวจเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยในชุมชนตำบลลูโบ๊ะลาบี ในระยะเวลา 15 วัน งบประมาณที่ใช้
- ค่าอาหารว่างมื้อละ 50บาท62คน2ครั้งคิดเป็นเงิน 6,200 บาท
- ค่าเอกสารและอุปกรณ์ 400 บาท
-ค่าพาหนะ 100/ คัน*4คัน คิดเป็นเงิน 400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ข้อมูลครัวเรือนที่ทำเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยในชุมชนตำบลลูโบ๊ะลาบี
  • ชนิดเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยที่มีในชุมชนตำบลลูโบ๊ะลาบี
  • โรงเรียนและชุมชนสร้างความสัมพันธภาพที่ดี
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมชี้แจงและจัดตั้งเครือข่ายเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยในชุมชนตำบลลูโบ๊ะลาบี

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงและจัดตั้งเครือข่ายเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยในชุมชนตำบลลูโบ๊ะลาบี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมชี้แจงและหารือร่วมกับเครือข่ายเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยในชุมชนตำบลลูโบ๊ะลาบี โดยมีครู บุคลากรสถานศึกษา ผู้ปกครอง และชาวบ้านชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2565 ถึง 1 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีเครือข่ายเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยในชุมชนตำบลลูโบ๊ะลาบี งบประมาณที่ใช้
- ค่าอาหารว่างมื้อละ 50บาท62คน2ครั้งคิดเป็นเงิน 6,200 บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ชมชนตำบลลูโบ๊ะลาบีมีเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยในชุมชน
2. นักเรียนได้รับความรู้เกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย
3. มีเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ในชุมชน
4. นักเรียนได้รับสารอาหารที่ปลอดภัยจากครัวเรือนของตนเอง


>