กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการห่วงใย ใส่ใจ ผู้สูงอายุ ผู้พิการปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง

กลุ่มจิตอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลคอลอตันหยง

1.นางสาวปาตีเม๊าะ ระโอะ
2.นางนินาดียะห์ ซาหะ
3.นางสาวไรนะ เจะหะ
4.นายต่วนเซ๊ะ ตุแวจาโก
5.นางสาวราชาวดี อาแวกือจิ

หมู่ที่ 1,2,4,5,7

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจากปัจจัยการลดลงของอัตราเกิดและ อายุขัยเฉลี่ยของประชากรที่ยืนยาวขึ้นขณะเดียวกันผู้สูงอายุก็มีอายุยืนยาวขึ้นอัตราการเพิ่มของจำนวน ผู้สูงอายุในปัจจุบันสูงกว่าของประชากรโดยรวมขณะเดียวกันอัตราการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุวัยปลายก็สูง กว่าอัตราการเพิ่มของกลุ่มผู้สูงอายุวัยต้นมีผลให้จำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของไทยเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุวัยปลายปัญหาการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุคาดว่าจะทวีความรุนแรงขึ้นในอีกสิบปี ข้างหน้าแม้จะ มีอายุเกิน 60 ปีขึ้นไป ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติแต่สภาพจิตใจ ผู้สูงอายุจึง ควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดีป้องกันการเกิดโรคต่างๆรวมทั้งฟื้นฟู สุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ไม่ก าเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมาก กว่าเดิมจะท าให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถท าประโยชน์ให้แก่สังคมและ มีความสุขในปั้นปลาย ของชีวิตประกอบกับรัฐบาลได้มีนโยบายในเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและ การมีงานหรือกิจกรรมที่เหมาะสมเพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคต ผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่งเนื่องจาก ผ่านประสบการณ์มามาก ได้ เคยเป็นก าลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถี ชีวิตดั้งเดิม และได้ท าคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย จ าเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดุแล ผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพจิต สุขภาพกายเป็นการเชิดชูเกียรติให้ ผู้สูงอายุ สามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขความพิการเป็นสถานะทางสุขภาพอย่างหนึ่งซึ่งแสดงออกมาในลักษณะของการสูญเสียความสามารถในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในการดำรงชีวิตในสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากปัญหาสุขภาพ เช่น การเจ็บป่วย การได้รับการบาดเจ็บ ในกระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพอาจประกอบด้วยการใช้วิธีต่าง ๆ ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการจัดหาและการให้บริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการเพื่อสนับสนุนการดำรงชีวิตและการเสริมสร้างสมรรถภาพหรือการเสริมสร้างความสามารถของคนพิการ เนื่องจากความพิการได้ส่งผลต่อชีวิตประจำวัน คือผู้พิการไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้เองทั้งหมดทำให้ต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิงญาติ/ผู้ดูแล ครอบครัวถือเป็นองค์ประกอบพื้นฐานส่วนหนึ่งที่ร่วมกันดูแลคนพิการ ดังนั้นการให้ความรู้ความเข้าใจและให้ทักษะการดูแลผู้ป่วยจะช่วยในการจัดการปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยได้ดีขึ้น ลดภาวะข้อติดในผู้ป่วย และผู้พิการก็มีความสุขที่ได้มีญาติดูแลอย่างใกล้ชิดซึ่งแสดงถึงการไม่ถูกทอดทิ้ง รวมทั้งเป็นการเสริมพลังแก่ครอบครัวและผู้ดูแลด้วย อสม.คอลอตันหยงจึงเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพของผู้พิการและทุพพลภาพ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ โครงการห่วงใย ใส่ใจ ผู้สูงอายุ ผู้พิการปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวันสามารถป้องกันความพิการซ้ำซ้อน และมีทัศนคติต่อการดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของตนเอง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน

ผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ

120.00 120.00
2 เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุผู้พิการทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุผู้พิการ

120.00 120.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุม เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม. เพื่อวางแผนการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุม เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม. เพื่อวางแผนการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 คัดเลือกผู้สูงอายุผู้พิการหรือผู้ดูแลเข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
คัดเลือกผู้สูงอายุผู้พิการหรือผู้ดูแลเข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมชี้แจงให้ความรู้ผู้สูงอายุผู้พิการหรือผู้ดูแล

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงให้ความรู้ผู้สูงอายุผู้พิการหรือผู้ดูแล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมชี้แจงให้ความรู้ผู้สูงอายุผู้พิการหรือผู้ดูแล
-ค่าอาหารกลางวัน  จำนวน 120คน x  50 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 6,000บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 120 x 25บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท -ค่าวิทยากร 1 คนx6ชั่วโมง(300บาท/ชม.X2วัน) เป็นเงิน3,600บาท -ค่าไวนิล 1000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ
2.ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุผู้พิการ


>