กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปราง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด19 เชิงรุก รพ.สต.บ้านสะพานเคียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปราง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ COVID-19 เป็นเชื้อไวรัสข้ามสายพันธุ์ที่สันนิฐานเกิดจากค้างคาวมาติดเชื้อในคน โดยเริ่มระบาดในมณฑลฮู่ฮั่นของประเทศจีนในช่วงปลายปี พ.ศ.2562 โดยองค์การอนามัยโลกได้ประกาศว่าการแพร่ระบาดของเชื้อดังกล่าวเป็นภัยพิบัติฉุกเฉินระดับโลก ปัจจุบันโรคติดเชื้อสายพันธุ์ไวรัสโคโรน่า 2019 เพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็ว ส่งผลให้ประชากรไทยมีผู้ติดเชื้อเสียชีวิตและเจ็บป่วย อันก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพและเกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคม ด้วยสถานการณ์ของประเทศไทย ณ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564 พบผู้ติดเชื้อสะสม 2,042,146 ราย รายใหม่เฉลี่ย 6,428 รายต่อวัน ยอดเสียชีวิตสะสม 20,486 ราย สถานการณ์ของจังหวัดตรังยอดสะสมผู้ป่วย 14,890 ราย เสียชีวิต 56 ราย อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรังยอดสะสมอยู่ที่ 1,079 รายเสียชีวิต 7 รายและเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะพานเคียน ตำบลวังมะปราง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง มียอดสะสมผู้ป่วยจำนวน 61 ราย ซึ่งมีการระบาดเป็นวงกว้างในตำบลวังมะปราง เนื่องจากเป็นพื้นที่กึ่งเมืองที่มีบุคคลจากหลากหลายตำบลเดินทางเข้ามาประกอบอาชีพ ขณะเดียวกันประเทศไทยได้ประกาศให้โรคติดเชื้อ COVID-19 เป็นโรคติดต่ออันตราย การป้องกันการติดเชื้อสามารถทำได้โดยหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่การระบาดของเชื้อ COVID-19 การสัมผัสกับผู้ป่วย หรือผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อหากสงสัยว่าตนเองอาจจะได้รับเชื้อควรแยกสังเกตอาการอย่างน้อย 14 วัน ขณะแยกสังเกตอาการต้องงดการเดินทางหรืออยู่ในที่ๆมีคนหนาแน่น งดใช้สิ่งของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น และควรปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะพานเคียน จึงเพิ่มมาตรการป้องกันควบควบคุมโรคติดเชื้อ COVID-19 ในระดับครอบครัวและชุมชน ในตำบลวังมะปราง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ในการคัดกรองเชิงรุกในการค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม กลุ่มที่เดินกลับมาจากพื้นที่เสี่ยง กลุ่มสัมผัสผู้ป่วยและกลุ่มมีอาการ ไข้ ปวดเมื่อย ไอ มีน้ำมูก จมูกไม่ได้กลิ่นลิ้น ไม่ได้รับรส เป็นกลุ่มเป้าหมายสู่เป็นโครงการคัดกรองฯ ต่อไป.

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อ COVID-19 ในผู้ที่กลับจากมาจากต่างจังหวัด ผู้ที่สัมผัสผู้ป่วยและผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายหวัด

1.ร้อยละ ๑๐๐ กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเชิงรุก

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/05/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม 2.1 กิจกรรมการคัดกรอง COVID-19 เชิงรุก ในชุมชน จำนวน 6 หมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม 2.1 กิจกรรมการคัดกรอง COVID-19 เชิงรุก ในชุมชน จำนวน 6 หมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด 1*3 เมตร จำนวน 1 แผ่นๆละ 390 บาท เป็นเงิน 390 บาท

  • ชุด PPE สำหรับตรวจ จำนวน 30 ชุด ๆ 250 เป็นเงิน 7,500 บาท
  • ชุด CPE สำหรับการค้นหากลุ่มเสี่ยงในชุมชน จำนวน 100 ชุดๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500บาท
  • หมวกคลุมผมตัวหนอน จำนวน 6ห่อๆละ 150 บาท เป็นเงิน 900 บาท (1 ห่อ/50 ชิ้น)
  • หน้ากากอนามัยชนิด N95 จำนวน 10 กล่องๆละ 1,700 บาท 17,000บาท (1 กล่อง/20 ชิ้น)
  • ถุงมือชนิดไม่มีแป้ง (ถุงมือไนไตร) จำนวน 3 กล่องๆละ 450 เป็นเงิน 1,350 บาท (1กล่อง/50คู่)
  • เทปกั้นเขต จำนวน 6 ม้วนๆ 460 บาท เป็นเงิน 2,760 บาท  (1ม้วน/500 เมตร)
      -ค่าชุดตรวจโควิด-19 ด้วยตนเอง หรือ ATK  จำนวน 400ชุดๆละ 80บาท  เป็นเงิน 32,000 บาท -ค่าจ้างเหมาสำหรับเจ้าหน้าที่พ่นน้ำยาฆ่าเชื้อโควิด19  จำนวน 1 คนเดือนละๆ 1,000 บาท จำนวน 5 เดือน  เป็นเงิน 5,000  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
69400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 69,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>