กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพะเยา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย ชุมชนวัดบุญยืน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพะเยา

ชุมชนวัดบุญยืน

นางสาวจุไรศรีวงค์บุญชา

อาคารอเนกประสงค์ วัดบุญยืน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การออกกำลังกายมีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายประการ เช่น ทำให้ร่างกายแข็งแรง ป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ ช่วยผ่อนคลายความเครียด ทำให้ร่างกายกระปรี้กระเปร่า นอนหลับสบาย มีสุขภาพที่ดีขึ้น แต่ในปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมมีมากขึ้น มนุษย์ได้มีการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต การใช้กล้ามเนื้อและพลังกายลดลง ทำให้สมรรถภาพร่างกายและคุณภาพการปฏิบัติงานในหน้าที่ลดลงตามไปด้วย นอกจากนี้ตามรายงานการค้นคว้าทางการแพทย์ยืนยันว่า บุหรี่ สุราและสิ่งเสพติดต่างๆ มีส่วนบั่นทอนสุขภาพร่างกาย ในทางตรงกันข้ามการออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬา เพียงวันละ 30 นาที และงดสิ่งเสพติดทั้งหลาย จะช่วยทำให้สมรรถภาพร่างกาย สมบูรณ์ แข็งแรง อีกทั้งยังลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และไขมันในเลือดสูง จากนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดีภายใต้ยุทธศาสตร์แห่งชาติ “รวมพลังสร้างสุขภาพ เพื่อคนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง”

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1. เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชน มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพตนเอง
2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนหรือแกนนำสุขภาพในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 จัดการอบรมเพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) จำนวน 1 วัน

ชื่อกิจกรรม
จัดการอบรมเพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) จำนวน 1 วัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 4ชั่วโมงๆละ 500 บาท = 2,000 บาท
ค่าอาหารว่างในการอบรม 2มื้อๆละ 25บาทจำนวน 30คน =1,500 บาท
ค่าอาหารกลางวัน 1มื้อๆละ 70 บาท จำนวน 30 คน = 2,100 บาท
ค่าสถานที่ = 500 บาท
ค่าเอกสารในการทำโครงการ = 3000 บาท
ค่าป้ายโครงการ = 630 บาท
ค่าอุปกรณ์สาธิต/อุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม = 5000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
27 พฤษภาคม 2565 ถึง 27 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14730.00

กิจกรรมที่ 3 ประเมินสุขภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรมก่อนและหลังการดำเนินโครงการ ได้แก่ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) โดยจัดทำแบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง สำหรับกลุ่มเป้าหมาย, แบบประเมินความรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง

ชื่อกิจกรรม
ประเมินสุขภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรมก่อนและหลังการดำเนินโครงการ ได้แก่ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) โดยจัดทำแบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง สำหรับกลุ่มเป้าหมาย, แบบประเมินความรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดทำสมุดบันทึกสุขภาพ(BMI)ให้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยบาสโลบ ทุกวันหรืออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-4 วัน ตั้งแต่เวลา 16.00-18.00 น.ต่อเนื่องจนสิ้นปีงบประมาณ

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยบาสโลบ ทุกวันหรืออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-4 วัน ตั้งแต่เวลา 16.00-18.00 น.ต่อเนื่องจนสิ้นปีงบประมาณ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ชุมชนมีการนัดหมายแกนนำสุขภาพและประชาชนที่สนใจ ร่วมออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3วันๆละ 3ชั่วโมง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 ประเมินผลกิจกรรม โดยสุ่มตรวจแบบบันทึกการตรวจสุขภาพตัวเอง กลุ่มเป้าหมายจะได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็นแกนนำสุขภาพในชุมชน ในปีงบประมาณต่อไป

ชื่อกิจกรรม
ประเมินผลกิจกรรม โดยสุ่มตรวจแบบบันทึกการตรวจสุขภาพตัวเอง กลุ่มเป้าหมายจะได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็นแกนนำสุขภาพในชุมชน ในปีงบประมาณต่อไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อนุฯหรือพี่เลี้ยงกองทุน ลงพื้นที่สุ่มตรวจแบบบันทึกสุขภาพของแกนนำแต่ละชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินงาน และรายงานให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพะเยาเมื่อสิ้นสุดโครงการ

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงาน และรายงานให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพะเยาเมื่อสิ้นสุดโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,730.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. แกนนำสุขภาพในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจและทักษะการดูแลสุขภาพตนเอง
2. แกนนำสุขภาพและประชาชนในชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม


>