กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเยาวชนวัยใส่ ห่วงใยสุขภาพห่างไกลบุหรี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

กองทุนสร้างความเข้มแข็งบ้านกูเว

1.นายแวอาลี วาเต๊ะ ประธาน

2.นายอีรพัน ยีเฮ็ง รองประธาน

3.นายซุลกิปลี ยูโซ๊ะ เลขานุการ

4.นายอาฮามัด มะวาซอ กรรมการ

5.นายอัยมาน บูละ กรรมการ

บ้านกูเว หมู่ 4 ต.บูกิต อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี) ที่สูบบุหรี่

 

50.00
2 จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน)

 

50.00
3 ร้อยละของผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ

 

60.00
4 ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน(บาท)

 

60.00

เด็กเยาวชนนับว่าเป็นบุคคลสำคัญ ที่มีพละกำลัง มีความพร้อมในช่วงวัย ไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ที่พร้อมในการที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดความเข้มแข็งได้ในอนาคตด้วยสภาวะการณ์ในปัจจุบันเด็กเยาวชนสั่งเกตุได้ว่า อ่อนแรงในทางความคิด ขาดความรู้ เกิดการชัดจุนได้ง่าย ร้อยละ 50 เด็กเยาวชนบ่างคนไม่สนใจการเรียน การศึกษา ละเลยการสั่งสอนของผู้เป็นพ่อแม่ ครูอาจารย์ จึงเป็นเหตุทำให้เกิดการปฏิบัติตัวหลงทางในทางที่ผิด โดยเฉพาะเด็กเยาวชนที่อยู่ในภาวะกลุ่มเสียง ที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ถือว่าเป็นบุคคลอยู่ในวัยใส่ สูญเสี่ยงมากในการที่จะไปติดสิ่งเสพติด ติดบุหรี โดยที่่เกิดจากความไม่มีสติ ไม่มีความรู้ และขาดความเข้าใจในการที่ป้องกันต้นเอง ด้วยเหตผลนี้กองทุนสร้างความเข้มแข็งบ้านกูเว ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงเสนอแผนงานโครงการเยาวชนวัยใส่ ห่วงใยสุขภาพห่างไกลบุหรี เพื่อที่ส่งสริม สนับสนุนให้เด็กเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจในการที่จะเพิ่มความสามารถในการป้องกันต้นเองจากพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ ส่งเสริมให้เด็กเยาวชนเกิดความรักต่อต้นเอง ครอบครัว สั่งคม และให้มีความสามารถที่จะพัฒนาหมู่บ้านในอนาคตต่อไปได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

50.00 70.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (คน)

50.00 70.00
3 เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน

ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน ลดลงเหลือ(บาท)

60.00 70.00
4 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ

การได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะลดลงเหลือ(ร้อยละ)

60.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ประสานงาน และจัดประชุม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ประสานงาน และจัดประชุม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดประชุม/ว่างแผนคณะทำงาน

2.ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการให้ประชาชนได้รับรู้ รับทราบ

3.ประสาน เชิญชวน สรรหาเด็กเยาวชน ที่อยู่ในภาวะกลุ่มเสี่ยง

3.จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 มีความพร้อมในการจัดโครงการ ร้อยละ 90 เด็กเยาวชนได้รับรู้ รับทราบในการดำเนินโครงการ เด็กเยาวชนที่มีสภาวะกลุ่มเสี่ยงสามารถเข้าร่วมโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรม ให้ความรู้และทอดบทเรียน การป้องกันต้นเองจากพิษภัยบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรม ให้ความรู้และทอดบทเรียน การป้องกันต้นเองจากพิษภัยบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าวิทยากร 6 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600บาท

2.ค่าอาหารกลางวัน 50 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 3,000บาท

3.ค่าอาหารว่าง 50 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท

4.ค่าป้ายไวนิล 1x3 เมตร เป็นเงิน 750บาท

5.ค่าเอกสาร วัสดุ (สมุด ปากกา ) 50 คนๆละ 85 บาท เป็นเงิน 4,250บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เด็กเยาวชนจำนวน 50 คนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาพิษภัย ผลกระทบจากการใช้บุหรีในประจำวันได้มากขึ้น

2.ร้อยละ 90 % เด็กเยาวชนเพิ่มความสามารถในการป้องกัน ดูแลสุขภาพต้นเองและครอบครัวได้มากขึ้น

3.ร้อยละ 90 % เด็กเยาวชนได้เห็นความสำคัญในการออกกำลังกายมากขึ้น

4.อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงได

5.จำนวนผู้สูบบุหรี่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจในการที่จะเพิ่มความสามารถในการป้องกันต้นเองจากพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ

2.เด็กเยาวชนเกิดความรักต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และให้มีความสามารถที่จะพัฒนาหมู่บ้านในอนาคตต่อไปได้

2.ร้อยละ 90 % เด็กเยาวชนเพิ่มความสามารถในการป้องกัน ดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้มากขึ้น

3.เด็กเยาวชนได้เห็นความสำคัญในการออกกำลังกายมากขึ้น

4.อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กเยาวชนลดลง

5.จำนวนผู้สูบบุหรี่ในกลุ่มเด็กเยาวชนลดลง


>