กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรู้เท่าทันภัย ห่างไกลโควิด-19

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา

ชมรม อสม.หมู่ที่ 9 ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา

1.นายสุรศักดิ์ เล๊าะเสด

2.นายหม๊ะ หมัดหลี

3.นายตอหาด เล๊าะเสะ

4.นางเจะเป๊าะ เล๊าะหวัง

5.นางวาลีดา เล๊าะหวัง

บ้านน้ำเค็ม หมู่ที่ 9 ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID – 19) ซึ่งปัจจุบันมีการระบาดเข้ามาในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยการสัมผัสหรือการรวมกลุ่มกับผู้ป่วยที่ไม่แสดงอาการหรือมีประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เดินทางมา

จากพื้นที่ระบาดของโรค โดยประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID – 19) เป็นจำนวนมากเพียงไม่นาน ดังนั้นเพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรค มาตรการในการป้องกันตนเอง คือ การสวมหน้ากากอนามัย และ
การล้างมือด้วยเจลล้างมือ ซึ่งวิธีการป้องกันที่เราสามารถทำได้คือการดูแลตนเองเบื้องต้น

บ้านน้ำเค็ม หมู่ที่ 9 ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา มีประชากรทั้งหมด 1,914 คนจำนวนหลังคาเรือน 378 หลังคาเรือน

อัตราการเกิดโรคโควิด-19 ในปี 2564 มีจำนวนผู้ป่วยจำนวน287 คน ในปี 2565 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 17 เมษายน 2565 มีจำนวนผู้ป่วยจำนวน72 คนเพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
มาตรการที่สำคัญคือการป้องกันตนเอง ไม่ให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสภาพที่แออัด และไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วย ไอ หรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ

ดังนั้นเพื่อให้กลุ่มแกนนำครอบครัวทุกคน สามารถเข้าถึงการป้องกันตนเอง เพื่อป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

ชมรม อสม. หมู่ 9 ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา จึงจัดทำโครงการรู้เท่าทันภัย ห่างไกลโควิด-19 ขึ้นเพื่อป้องกันตนเองและครอบครัว

ลดความเสี่ยงและผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคโควิด-19และสามารถถ่ายทอดให้กับคนในครอบครัวได้

1.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ร้อยละ90

0.00
2 2.เพื่อให้ประชาชนสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัยจากโรคโควิด-19

2.อัตราการเกิดโรคโควิด-19ในหมู่บ้านลดลง ร้อยละ30-จำนวนผู้ป่วยปี2564 จำนวน287 คน คิดเป็นร้อยละ 14.99 -จำนวนผู้ป่วยตั้งแต่วันที่1ม.ค.-17 เม.ย.2565 จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อย 3.76

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรม ประชุมคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรม ประชุมคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่าง 25 บ.x 30 คน = 750 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
26 มิถุนายน 2565 ถึง 26 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

กิจกรรมที่ 2 2. กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ กลุ่มแกนนำครอบครัว 120 คน

ชื่อกิจกรรม
2. กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ กลุ่มแกนนำครอบครัว 120 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าตอบแทน  ค่าวิทยากร 5 ชม.ๆ ละ 600 บ. x 5 =3,000 บ.

-ค่าอาหารกลางวันมื้อละ 70 บ. จำนวน X 120 คน = 8,400 บ.

-ค่าอาหารว่างมื้อละ 25 บ. x 120 คน x2 มื้อ = 6,000   บ.

  • ค่าวัสดุอุปกรณ์  = 2,000 บ.

    • ค่าป้ายไวนิล  1ชิ้น = 500 บ.
ระยะเวลาดำเนินงาน
26 มิถุนายน 2565 ถึง 26 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19900.00

กิจกรรมที่ 3 3.กิจกรรม แกนนำครอบครัวที่ผ่านการอบรมถ่ายทอดความรู้ให้กับสมาชิกในครัวเรือนที่รับผิดชอบ

ชื่อกิจกรรม
3.กิจกรรม แกนนำครอบครัวที่ผ่านการอบรมถ่ายทอดความรู้ให้กับสมาชิกในครัวเรือนที่รับผิดชอบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มิถุนายน 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 4.กิจกรรม รณรงค์ให้ความรู้/แจกแผ่นพับให้กับประชาชนในหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
4.กิจกรรม รณรงค์ให้ความรู้/แจกแผ่นพับให้กับประชาชนในหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มิถุนายน 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 5.กิจกรรม สรุปและประเมินผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
5.กิจกรรม สรุปและประเมินผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มครั้งละ 25 บาท x 30 คน = 750  บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคโควิด-19 และการป้องกันโรคอีกทั้งยังสามารถปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

2.ประชาชนในหมู่บ้านมีการติดเชื้อโควิด-19 ลดลงจากปีก่อน


>