กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหนูน้อยแอโรบิคเพื่อสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ

องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเปาะ

องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เด็กปฐมวัยควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมที่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง อันจะส่งผลให้มีเด็กปฐมวัยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกอบรมเพ่ิมพูนความรู้และพัฒนาทักษะด้านต่างๆ เพื่อให้สามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครองเข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรมโดยสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาศูนย์เด็กเล็กอย่างต่อเนื่องระหว่างบ้านและศูนย์เด็กเล็ก และเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรในท้องถิ่น ทำให้เกิดความร่วมมือร่วมใจจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ชุมชน ดังนั้น เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จึงได้บูรณาการด้านการส่งเสริมสุขภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยให้ได้รับการส่งเสริมให้มีสุขภาพที่ดี ตลอดถึงได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพอย่างเหมาะสมสามารถอยู่ร่วมกับผู้อืนได้ดี เพื่อเด็กจะได้เติบโตเป็นประชากรทีีมีคุณค่าสำหรับประเทศต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีทักษะชีวิตด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย รู้จักวิธีการออกกำลังกายอย่างโดยการเต้นแอโรบิคประกอบจังหวะตามความเหมาะสม เพือพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่

ร้อยละ 70 ของเด็กปฐมวัยมีทักษะชีวิตด้านการเคลื่อนไหวร่างการย รู้จักวิธีการออกกำลังอย่างโดยการเต้นแอโรบิคประกอบจังหวะตามความเหมาะสม เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่

100.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 33
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/08/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเต้นแอโรบิคประกอบจังหวะ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเต้นแอโรบิคประกอบจังหวะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมเต้นแอโรบิคประกอบจังหวะ -ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1x3 เมตร ๆ ละ 250 บาท จำนวน 1 ป้าย เป้นเงิน 750 บาท -ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดืม จำนวน 33 คน เป็นเวลา 9 มื้อ เป็นเงิน 7,425 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน 9 ชั่วโมง เป็นเงิน 4,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละ 80 ของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะเปาะ มีทักษะชีวิตด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย รู้จักวิธีการออกกำลังกายอย่างง่ายๆ โดยการเต้นแอโรบิคประกอบจังหวะตามความเหมาะสม เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ 2.ร้อยละ 80 ของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะเปาะ มีทักษะด้านสังคม กล้าแสดงออกและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมในที่สาธารณะ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12675.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,675.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ร้อยละ 80 ของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะเปาะ มีทักษะชีวิตด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย รู้จักวิธีการออกกำลังกายอย่างง่ายๆ โดยการเต้นแอโรบิคประกอบจังหวะตามความเหมาะสม เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่
2.ร้อยละ 80 ของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะเปาะ มีทักษะด้านสังคม กล้าแสดงออกและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมในที่สาธารณะ


>