กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสมุนไพรใกล้ตัวดีต่อระบบทางเดินหายใจช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

กลุ่มงานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลควนโดน

โรงพยาบาลควนโดน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยังคงทวีความรุนแรงมากขึ้น และยังคงมียอดผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นทุกวันจะเห็นได้ว่าประชาชนได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าวเป็นอย่างมากแต่ละครอบครัวประสบปัญหาความเดือนร้อนหากไม่ชวนกันแก้ไข้ปัญหา จะทำให้เกิดผลเสียระยะยาวการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนจึงเป็นเรื่องที่จำเป็น
ปัจจุบันมีการนำสมุนไพรที่หาได้ในบ้านเรามาใช้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพมากขึ้น ยิ่งมีการศึกษาวิจัยต่อยอดสมุนไพรไทยจนเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางยิ่งในช่วงสถานการณ์โควิด-19 สมุนไพรไทยนับเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถใช้บรรเทาอาการเบื้องต้นได้ และยังสามารถช่วยในเรื่องของระบบทางเดินหายใจและเสริมสร้างภูมิต้านทานได้อีกด้วย
จากการสำรวจพบว่าประชาชนตำบลควนสตออำเภอควนโดนส่วนใหญ่นิยมการใช้ยาสมุนไพรมากพอสมควรแต่ยังขาดความรู้ในการใช้สมุนไพรที่ถูกต้อง และปลอดภัยทางกลุ่มงานแพทย์แผนไทย จึงได้จัดโครงการสมุนไพรใกล้ตัวดีต่อระบบทางเดินหายใจช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้นำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นและให้เกิดประโยชน์มากที่สุด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัว ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ข้อที่ 3.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ในการดูแลสุขภาพในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด-19ได้อย่างถูกต้อง

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัว

ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถมีแนวทางในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวด้วยสมุนไพรใกล้ตัวในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 ได้

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการ สมุนไพรใกล้ตัวดีต่อระบบทางเดินหายใจช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน

ชื่อกิจกรรม
โครงการ สมุนไพรใกล้ตัวดีต่อระบบทางเดินหายใจช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1  กิจกรรมอบรมสมุนไพรใกล้ตัวสู้โควิด-19
1.1 จัดอบรมภาคทฤษฎี 1.2 จัดอบภาคปฏิบัติ ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 300บ.x 4 ชม.  = 1,200 บ.
ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 25 x 50คน  = 1,250 บ.
ค่าเอกสารคู่มือ 50 บ.x 50 คน=2,500 บ.
ค่าวัสดุอุปกรณ์ ,สมุนไพร  = 6,550 บ.

รายละเอียด  จำนวน  จำนวนเงิน ผ้าขนหนู  50  2,000 ทัพพี  5  250 ถุงขยะ  2  200 กะละมัง   50  2,000 กระชาย  2  240 กระเทียม    2  160 หอมแดง  2  160 มะกรูด  5  250 ตะไคร้  5  250 ขิง 5  350 ข่า 4  340 ฟ้าทะลายโจร 0.5 250 เกลือ  10  100

1 พ.ค. – 30 ก.ย. 2565

2. ติดตามผลการดำเนินโครงการโดยการลงชุมชนเชิงรุกเยี่ยมประชาชนในชุมชน ไม่เบิกค่าใช้จ่าย  1 พ.ค. – 30 ก.ย. 2565 2.1 ลงชุมชนเพื่อติดตามผลการดำเนินงาน

  1. สรุปผลการดำเนินโครงการและเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนสตอ  ไม่เบิกค่าใช้จ่าย  1 พ.ค. – 30 ก.ย. 2565 3.1 จัดทำสรุปผลการดำเนินงานเป็นรูปเล่ม

    รวม   11,500  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1  กิจกรรมอบรมสมุนไพรใกล้ตัวสู้โควิด-19
1.1 จัดอบรมภาคทฤษฎี 1.2 จัดอบภาคปฏิบัติ ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 300บ.x 4 ชม.  = 1,200 บ.
ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 25 x 50คน  = 1,250 บ.
ค่าเอกสารคู่มือ 50 บ.x 50 คน=2,500 บ.
ค่าวัสดุอุปกรณ์ ,สมุนไพร  = 6,550 บ.

รายละเอียด  จำนวน  จำนวนเงิน ผ้าขนหนู  50  2,000 ทัพพี  5  250 ถุงขยะ  2  200 กะละมัง   50  2,000 กระชาย  2  240 กระเทียม    2  160 หอมแดง  2  160 มะกรูด  5  250 ตะไคร้  5  250 ขิง 5  350 ข่า 4  340 ฟ้าทะลายโจร 0.5 250 เกลือ  10  100

1 พ.ค. – 30 ก.ย. 2565

2. ติดตามผลการดำเนินโครงการโดยการลงชุมชนเชิงรุกเยี่ยมประชาชนในชุมชน ไม่เบิกค่าใช้จ่าย  1 พ.ค. – 30 ก.ย. 2565 2.1 ลงชุมชนเพื่อติดตามผลการดำเนินงาน

  1. สรุปผลการดำเนินโครงการและเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนสตอ  ไม่เบิกค่าใช้จ่าย  1 พ.ค. – 30 ก.ย. 2565 3.1 จัดทำสรุปผลการดำเนินงานเป็นรูปเล่ม

    รวม   11,500  บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัว
2.ประชาชนรู้จักนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
3.ประชาชนสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ในการดูแลสุขภาพในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 ได้


>