กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการ การพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค และงานอชีวอนามัย อย่างมีส่วนร่วม เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ของประชาชนเขตพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจาเราะบองอ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ การพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค และงานอชีวอนามัย อย่างมีส่วนร่วม เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ของประชาชนเขตพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจาเราะบองอ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

รพ.สต.บ้านจาเราะบองอ

-

เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านจาเราะบองอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ , แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรงเรียนขาดแกนนำ อย.น้อย

 

0.00
2 ร้านจำหน่ายของชำไม่ผานเกณฑ์ตัวชีวัดที่กำหนด

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และร้านจำหน่ายอาหาร ภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย
  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ ในการเลือกซื้อสินค้า การจัดสถานที่ การปรุงที่ถูกหลักสุขาภิบาล และร้านจำหน่ายอาหารผ่านการประเมิน CFGT
0.00 100.00
2 2. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการ ผู้บริโภคให้ตระหนัก และเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ ในการเลือกซื้อสินค้า การจัดสถานที่ การปรุงที่ถูกหลักสุขาภิบาล และร้านจำหน่ายอาหารผ่านการประเมิน CFGT
  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ ในการเลือกซื้อสินค้า การจัดสถานที่ การปรุงที่ถูกหลักสุขาภิบาล และร้านจำหน่ายอาหารผ่านการประเมิน CFGT 2.มีเครื่อข่ายครอบคลุมทุกพื้นที่ 3.ร้านค้าผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
0.00 70.00
3 4. เพื่อให้ทุกโรงเรียน มีแกนนำ อย.น้อย
  • โรงเรียนมีแกนนำ อย. ร้อยละ 100
50.00 70.00
4 5.เพื่อรณรงค์ เฝ้าระวังการใช้ผลิตภัณฑ์ที่โฆษณาเกินจริง อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์ชุมชน

ชุมชนมีการเฝ้าระวังการใช้ผลิตภัณฑ์ที่โฆษณาเกินจริง อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์ชุมชน

0.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/09/2022

กำหนดเสร็จ 31/12/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ผู้ประกอบการ และเครือข่าย

ชื่อกิจกรรม
อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ผู้ประกอบการ และเครือข่าย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1*2 เมตรๆละ 250                  เป็นเงิน        500 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 94 คนๆ ละ 25 บาท  X 2 มื้อ        เป็นเงิน      4,700 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 94 คนๆ ละ 50 บาท                              เป็นเงิน      4,700 บาท
  • ค่าวิทยากร 1 คนๆละ 500 บาท X 6 ชม.                               เป็นเงิน      3,000 บาท
  • ค่าวัสดุอบรม                                                 เป็นเงิน      2,350 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 17 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ตัวแทนเครือข่าย และผู้ประกอบการได้รับอารอบรม ร้อยละ 70

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15250.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมแกนนำ อย.น้อย

ชื่อกิจกรรม
อบรมแกนนำ อย.น้อย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 คนๆ ละ 25 บาท      เป็นเงิน      2,500 บาท
  • ค่าวัสดุอบรม 100 คนๆ ละ 50 บาท                 เป็นเงิน      5,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
21 พฤศจิกายน 2565 ถึง 25 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีแกนนำ อย.น้อย ร้อยละ 100 (3โรงเรียน)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7500.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รณรงค์การดำเนินงานตาม พรบ.บุหรี่
- ค่าโฟมบอร์ดประชาสัมพันธ์ 44 แผ่นๆละ 250 บาท      เป็นเงิน        11,500 บาท รณรงค์ เฝ้าระวังการใช้ผลิตภัณฑ์ที่โฆษณาเกินจริงรณรงค์การดำเนินงานเรื่องอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์ชุมชน
- ค่าโฟมบอร์ดประชาสัมพันธ์ 41 แผ่นๆละ 250 บาท      เป็นเงิน        10,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ชุมชนมีการเฝ้าระวังการใช้ผลิตภัณฑ์ที่โฆษณาเกินจริง อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์ชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21250.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมตรวจร้านตามเกณฑ์มาตรฐานและตรวจทางชีวภาพ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมตรวจร้านตามเกณฑ์มาตรฐานและตรวจทางชีวภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าเบี้ยเลี้ยงในการตรวจร้านตามเกณฑ์มาตรฐานและตรวจทางชีวภาพ 1,000 บาท * 3 หมูบ้าน   เป็นเงิน        3,000 บาท
  • ค่าชุดตรวจหาสารป่นเปื้อนในอาหาร ยา เครื่องสำอาง น้ำ ฯลฯ                                        เป็นเงิน      10,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้านชำละร้านจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ตัวชีวัดที่กำหนด ร้อยละ 70

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 57,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ร้านจำหน่ายอาหารภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย มีการเฝ้าระวัง และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร
2. ภาคีเครือข่ายและผู้ประกอบการ มีความรู้ถึงหลักเกณฑ์การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค และงานอาชีวอนามัย
3. ผู้บริโภคมีความรู้ ความตระหนัก และเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม
4. แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านน้ำชา ร้านจำหน่ายบุหรี่ และร้าขายของชำ ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนด
5. ร้านค้าจำหน่ายบุหรี่ ดำเนินการตาม พรบ.บุหรี่ และมีการประชาสัมพันธ์ ไม่จำหน่ายบุหรี่แก่เด็กต่ำกว่า ๑๘ ปี
6. แกนนำ อย.น้อย มีความรู้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการดำเนินชีวิตในชีวิตประจำวัน และชุมชนได้
7. ผู้บริโภคได้รับการเฝ้าระวังการใช้ผลิตภัณฑ์ที่โฆษณาเกินจริง อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์ชุมชน


>