กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและ โรคเบาหวาน

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและ โรคเบาหวาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระแสสินธุ์

ตำบลกระแสสินธุ์ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดัน

 

2.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาระบบบริการในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การดูแลรักษา และให้บริการที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

1.คลินิก DPAC และ NCD ในรพ./รพ.สต. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ (>ร้อยละ 70) 2.ผู้ป่วยDM/HT ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี (>ร้อยละ 60) 3. ร้อยละของผู้ป่วย DM ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ผู้ป่วย HT ที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 4. ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อทุกราย

0.00
2 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง และบุคคลในครอบครัว ลดภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคที่ป้องกันได้และโรคเรื้อรัง เช่น โรคอ้วน โรคความดัน โรคเบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมองได้
  1. กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (>ร้อยละ 60)
  2. กลุ่มเสี่ยง DM/HT ที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ (>ร้อยละ 30)
0.00
3 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชน ในการดำเนินการเฝ้าระวัง และจัดการลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

1.มีหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯต้นแบบ(ระดับดีมากขึ้นไป)หมู่บ้านใหม่อย่างน้อยอำเภอละ 1 หมู่บ้าน

0.00
4 4. เพื่อสร้างเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อการมีสุขภาพดี โดยวิธีเพื่อนช่วยเพื่อนในชุมชน

1.มีหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯต้นแบบ(ระดับดีมากขึ้นไป)หมู่บ้านใหม่อย่างน้อยอำเภอละ 1 หมู่บ้าน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 31/12/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 1.1 จัดอบรมกลุ่มเสี่ยงตามเป้าหมายเพื่อเรียนรู้การมีสุขภาพดี - ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 109 คน - ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 58 คน

ชื่อกิจกรรม
1. ดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 1.1 จัดอบรมกลุ่มเสี่ยงตามเป้าหมายเพื่อเรียนรู้การมีสุขภาพดี - ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 109 คน - ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 58 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มติดตามผล 3 เดือน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 25 บ.x167 คน เป็นเงิน 4,175 บาท -ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ 1 ป้าย  ราคา 300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4475.00

กิจกรรมที่ 2 1.2จัดทำชุดเอกสารคู่มือสำหรับการเรียนรู้เพื่อการมีสุขภาพดี

ชื่อกิจกรรม
1.2จัดทำชุดเอกสารคู่มือสำหรับการเรียนรู้เพื่อการมีสุขภาพดี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าจัดทำเอกสารติดตามพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 167 ชุด*5 บาท เป็นเงิน 835 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
835.00

กิจกรรมที่ 3 1.3 ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพหลังอบรม 6 เดือน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเครือข่ายการเรียนรู้สุขภาพดี

ชื่อกิจกรรม
1.3 ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพหลังอบรม 6 เดือน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเครือข่ายการเรียนรู้สุขภาพดี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มติดตามผล 3 เดือน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 25 บ.x167 คน เป็นเงิน 4,175 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4175.00

กิจกรรมที่ 4 2. คัดเลือกบุคคลต้นแบบในการลด การเสี่ยงต่อโรค ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคอ้วน หมู่บ้านละ 5 คน

ชื่อกิจกรรม
2. คัดเลือกบุคคลต้นแบบในการลด การเสี่ยงต่อโรค ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคอ้วน หมู่บ้านละ 5 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 2.1มอบเกียรติบัตรแก่บุคคลต้นแบบ

ชื่อกิจกรรม
2.1มอบเกียรติบัตรแก่บุคคลต้นแบบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,485.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจในพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม
2. กลุ่มเสี่ยงสามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปปฏิบัติเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงต่อโรค ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคอ้วนของตนเองและบุคคลในครอบครัว
3. จำนวนกลุ่มเสี่ยงลดลง กลับไปเป็นกลุ่มปกติไม่น้อยกว่าร้อยละ 50


>