กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

มอ ปลอดบุหรี่ทั้ง 5 วิทยาเขต

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

สมาคมบัณฑิตอาสา มอ.

A
B
C
D
E

หาดใหญ่ ปัตตานี ตรัง ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

นักศึกษาชายและหญิงในระดับปริญญาตรีสูบบุหรี่ร้อยละ 24 (จากข้อมูลผลการสำรวจ....ระบุแหล่งที่มาของข้อมูล)

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบบุหรี่ของนักศึกษาชายและหญิงในระดับปริญญาตรีใน 5 วิทยาเขต

อัตราการสูบบุหรี่ของนักศึกษาชายและหญิงในระดับปริญญาตรีลดลงเหลือ ร้อยละ 20

24.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2022

กำหนดเสร็จ 31/10/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การออกแบบเครื่องมือการสำรวจผู้สูบยาสูบในกลุ่มนักศึกษาด้วยกูเกิ้ลฟอร์ม หรือ แอพลิเคชั่นที่สร้างขึ้น

ชื่อกิจกรรม
การออกแบบเครื่องมือการสำรวจผู้สูบยาสูบในกลุ่มนักศึกษาด้วยกูเกิ้ลฟอร์ม หรือ แอพลิเคชั่นที่สร้างขึ้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1: การระดมสมองเพื่อพัฒนาเครื่องมือการสำรวจ (สำหรับใช้เปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินงาน) 1. ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุมการออกแบบ (เช่น เป็น นศ อาจารย์ บุคลากร นักสถิติ และทีมผู้รับผิดชอบโครงการ) 300 บาท/คน/วัน จำนวน 1 วัน [300 บาท x 15 คน x 1 วัน = 4,500 บาท] 2. ค่าถ่ายสำเนาเอกสาร/ข้อมูลนำเข้า (ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเครื่องมือ/ตัวอย่างแบบสำรวจ) 15 บาท/ชุด [15 บาท x 15 คน = 225 บาท] 3. ค่าอาหารว่างจำนวน 2 มื้อ มื้อละ 35 บาท [ 35 บาท x 2 มื้อ x 15 คน = 1,050 บาท] 4. ค่าอาหารหลัก จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 90 บาท [90 บาท x 1 มื้อ x 15 คน = 1,050 บาท] 5. ค่าตอบแทนผู้รับผิดชอบจัดทำเครื่องมือ (สร้างแอพฯ / สร้างกูเกิ้ลฟอร์ม)
[1,000 บาท x 2 คน = 1,050 บาท] รวมค่าใช้จ่ายในกิจกรรมที่ 1 = 4,500 + 225 + 1,050 + 1,050 + 1,050 = 7,875 บาท

กิจกรรมที่ 2 การนำเครื่องมือไปสำรวจ กิจกรรมที่ 3 การวิเคราะห์ผลการสำรวจ (ทราบจำนวนผู้สูบ ผู้ไม่สูบ ผู้ที่เลิกได้ ผู้ที่ต้องการเลิก ฯลฯ) กิจกรรมที่ 4 การคืนข้อมูลไปยังคณะและวิทยาเขต เพื่อกำหนดนโยบาย เช่น นำผู้ต้องการเลิกเข้าสู่ระบบช่วยเลิก และออกแบบมาตรการป้องกันไม่ให้มีการสูบภายในมหาวิทยาลัย (เพื่อคุ้มครองสุขภาพผู้ที่ไม่สูบ เป็นต้น)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ได้แบบสำรวจอย่างง่าย (แบบออนไลน์/แชร์ลิงค์/แอพลิเคชั่น)
  2. ข้อมูลอัตราการสูบบุหรี่ของนักศึกษา ป ตรี ทุกคณะ ทุกวิทยาเขต
  3. การส่งต่อข้อมูลเข้าสู่ระบบการช่วยเลิก
  4. มาตรการ/นโยบายควบคุมยาสูบระดับคณะและวิทยาเขต
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
35000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 35,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ระดับบุคคล นักศึกษาเลิกสูบได้
2. คณะ/วิทยาเขต มีการเฝ้าระวังจากอาจารย์ในชั่วโมงเรียน เช่น การมีผลต่อคะแนนด้านพฤติกรรม
3. การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ มีป้ายเตือนห้ามสูบบุหรี่ในสถานศึกษา
4. ระบบส่งต่อข้อมูลไปยังหน่วยบริการช่วยเลิก เช่น ร้านยาเภสัช มอ คลินกปฐมภูมิ รพ.มอ
5. มหาวิทยาลัย มีการกำหนดมาตรการ/นโยบาย (เช่น มีการบังคับใช้กฎหมายห้ามสูบภายในอาคารเรียน)


>