กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบ้านป่าหวายสุขใจห่างไกลโรคเรื้อรัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านป่าหวาย

1.นางนง กังสวรณ์ ประธานอสม.
2.นางอรวรรณ ทองรมย์ กรรมการ
3.นางพริ้ม บุตรจีน กรรมการ
4.นางสาวละออง ดีเพชร กรรมการ
5.นางโสภา หะนุรัตน์กรรมการ
6.นางวิไลวรรณ บุตรจีน กรรมการ
7.นางสาวมาริษาจันทร์มาตร์ กรรมการ
8.นายปรีชา แก้วเมฆ กรรมการ

ศาลาอเนกประสงค์บ้านป่าหวาย หมู่ที่ 8 ต.สุไหงปาดี อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ประชาชนในหมู่บ้านขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ

 

60.00

ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต เป็นต้น ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัว และชุมชนครอบคลุม กลุ่มประชากรเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศ นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก ๓อ.๒ส. เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น ร้อยละ 60

60.00 30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2023

กำหนดเสร็จ 31/07/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ และ อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
การตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ และ อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การคัดกรองผู้เข้าร่วมอบรมและกลุ่มเสี่ยง / อบรมให้ความรู้ -ค่าป้ายไวนิลขนาด 240x120 ซม.เป็นเงิน 720 บาท
-วัดความดันโลหิตจำนวน 2500 บาท x 2 เครื่อง เป็นเงิน 5000 บาท - ชั่งน้ำหนัก จำนวน 1200 บาท x 1 เครื่อง เป็นเงิน 1200 บาท - เครื่องวัดน้ำตาล2 เครื่อง ชุดละ 1000 บาท x 2 เครื่อง เป็นเงิน 2000 บาท - ค่าเข็มเจาะเลือด 4 กล่อง x 1382 บาทเป็นเงิน 5528บาท - ค่าแถบตรวจน้ำตาล 6 กล่อง x 630 บาท เป็นเงิน 3780บาท -ค่าถุงมือปราศจากเชื้อ 3 กล่อง x 250 บาท เป็นเงิน 750 บาท -ค่าสำลีปั้นก้อน 3 ถุง x 49 บาท เป็นเงิน 147 บาท -ค่าแอลกอฮอล์ 3 ขวด x 85 บาท เป็นเงิน 255 บาท -หน้ากากอนามัย 3 กล่อง X 80 เป็นเงิน240 บาท -กล่องใส่ลำสีขนาด 4 นิ้ว 2 กล่อง x 150 เป็นเงิน 300 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คนจำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3600 บาท
-ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม 30 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1500 บาท
-ค่าอาหารเที่ยง 50 บาท 30คน เป็นเงิน 1500 บาท - ค่าสมุดเล่มละ 10 บาท x 30 คนเป็นเงิน 300 บาท - ค่าปากกาด้ามละ 5 บาท x 30 ด้าม เป็นเงิน 150 บาท - ค่ากระเป๋าผ้า 65 บาท x 30 คน เป็นเงิน 1950 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าร่วมโครงการทุกคน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
28920.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เยี่ยมติดตาม หลังจากให้ความรู้
ติดตามเจาะตรวจโลหิตตรวจเบาหวาน
ตรวจความโรคความดัน ชั่งน้ำหนัก

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 13 กุมภาพันธ์ 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมมีสุขภาพที่ดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,920.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงห่างไกลโรคภัย


>