กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการดูแลบ้านปะเสให้สะอาด ด้วยมือเรา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ

ชมรมดารุลฟุรกอน

1. นายอนัซยูโซะ ประธาน
2. นายอิสรัน เปาะซารองประธาน
3. นายอิมรอน เปาะแตเหรัญญิก
4. นายอารอฟัต อูมา ประชาสัมพันธ์
5. นายอิรฟาน สนิ เลขานุการ

หมู่ 3 ต.ปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม , แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะ ข้อที่ 2 เพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดโรคของประชาชน ข้อที่ 3 เพื่อสร้างจิตสำนึกในการรักสุขภาพและการรักษาความสะอาด

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจเนื้อหาที่ได้อบรม 2. มีพื้นที่สะอาดไร้มลพิษ 3. ผู้เข้าร่วมมีการจัดการขยะที่ถูกต้อง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 บ้านปะเสให้สะอาด ด้วยมือเรา

ชื่อกิจกรรม
บ้านปะเสให้สะอาด ด้วยมือเรา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. วัสดุอุปกรณ์ในการจัดเตรียมสถานที่      1.1 ไวนิลโครงการ      1.2 ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม (เอกสาร,สมุด,ปากกา,กระดาษแข็ง      1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเสริมการจัดการขยะ       (ถุงดำ ถุงมือ ไม้กวาด ถังขยะ เชือก สเปรย์พ่นสี)         1 x 3 ม. X 1 ผืน = 900 บาท 20  x 100 = 2,000 บาท

200+1000+2000+3000+200+200 = 6,600 บ. 2. โครงการดูแลบ้านปะเสให้สะอาด ด้วยมือเรา      2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงทะเบียน
     2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมฟังการบรรยายจากวิทยากรและสันทนาการ    600 บ. x 3 ชม. = 1,800 บ.

           ฟังบรรยายเรื่องเทคนิคการคัดแยกขยะ                  ให้ถูกประเภทและนำวัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่รวมทั้งการจัดการขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก และขยะที่สามารถนำไปขายเพื่อเป็นรายได้

     2.3 รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 คน มื้อละ 25 บ. จำนวน 1 มื้อ = 2,500บ.      2.4 รับประทานอาหารกลางวัน    ค่าอาหารกลางวัน 100 คน มื้อละ 50 บ.               จำนวน 1 มื้อ = 5,000 บ. 2.5 1 ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรมฟังการบรรยายจากวิทยากรสาธิตการจัดทำถังขยะตะข่ายเพื่อแยกขยะพลาสติก ระดมความคิดผู้เข้าร่วมอบรม กำหนดเป้าหมายจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ วางถังขยะตามจุดต่างๆตามที่ได้มีการระดมความคิด  600 บ. x 3 ชม. = 1,800 บ.

2.6 รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 คน มื้อละ 25 บ. จำนวน 1 มื้อ = 2,500บ.      เสร็จสิ้นโครงการ
    รวม 23,100 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง       2. ประชาชนห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บ สู่สุขภาพที่ดีของประชาชน       3. ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาด มีสุขภาพที่ดี ทำให้ชุมชนมีความสะอาดน่าอยู่ดี
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>