กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุบ้านคูนายสังข์ ประจำปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านคูนายสังข์

1.นายกนก พิรุณ
2.นางสมนึก แก้วสุข
3.นายประเสริฐ พุทธศรี
4.นางหนูเหิม ศรีมณี
5.นางฐานิดา มหาเมฆ

หมู่ที่ 6,7 ตำบลแค อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)

 

28.00
2 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน)

 

5.00
3 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง เช่น ตาต้อ กระจก เป็นต้น (คน)

 

23.00
4 ร้อยละของผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

45.65
5 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว(คน)

 

15.00
6 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

74.68
7 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

54.36
8 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

 

86.23
9 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ

 

72.32
10 จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น

 

30.00
11 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

 

65.00
12 ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ

 

30.42
13 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีกลุ่มหรือสังกัดชมรม

 

35.35
14 จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)

 

0.00
15 ร้อยละแผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล

 

0.00

ผู้สูงอายุในปัจจุบันแนวโน้มจะมีอายุที่ยีนยาวมากขึ้นประกอบกับขณะนี้ ประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นหลายล้านคน ซึ่งวัยผู้สูงอายุนับเป็นวัยที่มีความสำคัญมากเป็นวัยที่ต้องการคนดูแลเอาใจใส่ เนื่องจากสภาพร่างกายทรุดโทรม ไม่แข็งแรง ผู้สูงอายุบางรายมีโรคประจำตัวหลายโรคทำให้เป็นภาระของครอบครัวที่ต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิด บางครอบครัวมีความรับผิดชอบต่อผู้สูงอายุเป็นอย่างดีหมั่นคอยดูแลปรนนิบัติตามสภาพทำให้ผู้สูงอายุมีกำลังใจดีมีความสุขแต่บางครอบครัวไม่มีความรับผิดชอบต่อผู้สูงอายุ ปล่อยให้ต้องอยู่ตามลำพังเป็นเหตุให้ผู้สูงอายุมีความเครียด และอยู่อย่างโดดเดี่ยว ไม่มีความสุขในสังคม เพื่อเป็นการให้กำลังใจกับผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถมีชีวิตที่เหลืออยู่อย่างมีความสุข อยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่าไม่เป็นภาระต่อสังคม เป็นผู้สูงอายุที่สามารถทำประโยชน์ให้กับชุมชนได้อีกมากมาย ทางชมรม อาสาสมัครสาธารณสุขบ้านคูนายสังข์ ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคูนายสังข์ ได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาผู้สูงอายุเพื่อสนับสนุนให้ผู้สูงอายุสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า มีการพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดและวิธีการดูแลสุขภาพซึ่งกันและกันได้ และส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อการมีสุขภาพที่ดีสนับสนุนให้ครอบครัวเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน

ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง

28.00 15.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว

ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง

15.00 10.00
3 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล

จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

5.00 0.00
4 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง

จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง

23.00 15.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน

จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น

0.00 13.00
6 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

65.00 100.00
7 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง

30.00 15.00
8 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น

30.42 50.00
9 เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ

แผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล เพิ่มขึ้น

0.00 28.00
10 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น

35.35 80.00
11 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด

45.65 20.00
12 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

74.68 45.00
13 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น

54.36 80.00
14 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

72.32 90.00
15 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม  ลดลง

86.23 45.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 28/11/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้ประจำเดือนของชมรมผู้สูงอายุบ้านคูนายสังข์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้ความรู้ประจำเดือนของชมรมผู้สูงอายุบ้านคูนายสังข์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เป็นการจัดกิจกรรมประจำเดือนทุกๆเดือน จำนวน 12 ครั้งต่อปี โดยมีการจัดประชุม ให้ความรู้เรื่องต่างๆแก่ผู้สูงอายุในพื้นที่หมู่ที่ 6และหมู่ที่ 7 (อยู่ในความรับผิดชอบของ รพ.สต.คูนายสังข์) เช่นเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต การยืดเหยียด เป็นต้น โดยแต่ละเดือนจะมีหัวข้อที่ต่างกัน โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุ (ผู้เข้าร่วมกิจกกรมประมาณ 40 คนต่อครั้ง)    ชุดละ 25 บาท จำนวน 24 ชุด จำนวน 12 เดือน       เป็นเงิน   7,200   บาท 2.  ค่าตอบแทนวิทยากร 12  ครั้ง X 600 บาท (ชั่วโมงละ 300 บาท X 2 ชั่วโมง)     เป็นเงิน   7,200   บาท 3 .  ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ ในการดำเนินการ     500      บาท 4. ค่าเอกสารอื่นๆ เป็นเงิน 100 บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 15,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุในชมรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม 2.ผู้สูงอายุในชมรม มีสุขภาพจิตดีขึ้นเนื่องจากได้ทำกิจกรรมร่วมกัน อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง 3.เกิดความสามัคคีในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้สูงอายุในชมรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
2.ผู้สูงอายุในชมรม มีสุขภาพจิตดีขึ้นเนื่องจากได้ทำกิจกรรมร่วมกัน อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง
3.เกิดความสามัคคีในชุมชน


>