กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองปาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหนูน้อย ฟันสวย ยิ้มใสวัยก่อนเรียน ปี 2561

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองปาง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนชั้นอนุบาล 2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมดูแลสุขภาพช่องปาก เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ 3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลในเขตเทศบาลตำบลคลองปางและครูผู้ดูแลเด็ก ได้เข้าใจและดูแลเอาใจใส่สุขภาพช่องปาก
  1. เด็กปฐมวัยปราศจากฟันผุ (ไม่มีฟันน้ำนมผุและไม่เคยมีฟันผุ/ไม่มีฟันอุด/ไม่มีฟันถอน) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
  2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
  3. เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับทันตสุขศึกษาและฝึกทักษะการแปรงฟัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ร้อยละ 80
  4. ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับการแจ้งผลการตรวจและคำแนะนำ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรม
1. ตรวจสุขภาพช่องปากแก่เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนประถมชั้นอนุบาล
2. แจ้งผลการตรวจสุขภาพช่องปากแก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนประถมชั้นอนุบาล และผู้ปกครองพร้อมให้คำแนะนำ
3. ให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพ ( อาหาร, ฟันผุ, เหงือกอักเสบ,การแปรงฟันที่ถูกวิธี ) แก่ครูผู้ดูแลพร้อมทั้งให้เด็กนักเรียนฝึกแปรงฟัน
4. ให้บริการทาฟลูออไรด์วานิช แก่เด็กก่อนวัยเรียนโดยทันตบุคลากรหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ผ่านการอบรมทุกเทอมละ 2 ครั้งและติดตามผล
5. ให้บริการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนประถมชั้นอนุบาล ตามความจำเป็น
6.ประเมินคุณภาพหลังการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART

งบประมาณ
1. หมวดค่าวัสดุทั่วไป
- ค่าแบบตรวจสุขภาพช่องปาก จำนวน 240 ชุด X 2 บาทเป็นเงิน480 บาท
- ค่าแบบแจ้งผลการตรวจแก่ผู้ปกครอง จำนวน 240 ชุด X 2บาท เป็นเงิน480 บาท
- ค่าแบบการประเมินคุณภาพหลังการทำการรักษาจำนวน 240ชุด X 1บาท เป็นเงิน 240 บาท
- ค่าอุปกรณ์ในการดำเนินกิจกรรม เป็นเงิน 600 บาท
2. หมวดค่าวัสดุทันตกรรม
- ค่าฟลูออไรด์วานิช จำนวน 10 กล่อง X850บาทเป็นเงิน8,500 บาท
- ค่าพู่กันทาฟลูออไรด์วานิช จำนวน 6กล่อง X 250 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ชุดวัสดุอุดฟันชนิดกลาสไอโอโนเมอร์(GI) จำนวน 2 ชุด X 4,300 บาท เป็นเงิน 8,600 บาท
- ค่าวัสดุอุดชนิดสีเหมือนฟัน(Composite Flowable) 2 X 1,950 บาท เป็นเงิน 3,900 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น
จำนวน 23,900 บาท

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>