กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.แหลมโพธิ์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 3 ตำบลแหลมโพธิ์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.แหลมโพธิ์

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาตาบูดี

หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 3 ตำบลแหลมโพธิ์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาทักษะ อสม.ผู้นำชุมชน ครูอนามัยโรงเรียน แกนนำครอบครัว และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออก สามารถช่วยกันป้องกัน ดูแลไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ

 

100.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการช่วย ป้องกันการระบาดของไข้เลือดออกในพื้นที่

 

100.00
3 เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความอันตรายของโรค ไข้เลือดออก รู้จักวิธีการดูแลตนเองและคนใกล้เคียงไม่ให้เป็นโรค

 

100.00
4 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

 

90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 133
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/02/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสัมมนาความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องจำนวน 100 คน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสัมมนาความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องจำนวน 100 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท

  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คนๆละ 2 มื้อๆละ 30 บาทเป็นเงิน 6,000 บาท

  3. ค่าป้ายโครงการ (ไวนิล) ขนาด 1.2 x 2.4 เมตรเป็นเงิน 720 บาท

  4. ค่าสเปรย์ฉีดยุง 500 มล. จำนวน 50 ขวดๆละ 65 บาท เป็นเงิน 3,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.อสม.ผู้นำชุมชน ครูอนามัยโรงเรียน แกนนำครอบครัว ในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออกมากชึ้น สามารถช่วยป้องกันดูแลไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

2.ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกและให้ความร่วมมือในการดูแลตนเองและช่วยกันป้องกันไม่ให้มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก

3.พื้นที่เป้าหมายไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15970.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ โดย อสม.33 คน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ โดย อสม.33 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 33 คน คนละ 60 บาท เป็นเงิน 1,980 บาท

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 33 คน คนละ 30 บาท x 2 มื้อเป็นเงิน 1,980 บาท

ทรายอะเบท ฆ่าลูกน้ำยุงลาย จำนวน 5 ถังๆละ 1,200 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.อสม.ผู้นำชุมชน ครูอนามัยโรงเรียน แกนนำครอบครัว ในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออกมากชึ้น สามารถช่วยป้องกันดูแลไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

2.ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกและให้ความร่วมมือในการดูแลตนเองและช่วยกันป้องกันไม่ให้มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก

3.พื้นที่เป้าหมายไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9960.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,930.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.อสม.ผู้นำชุมชน ครูอนามัยโรงเรียน แกนนำครอบครัว ในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออกมากชึ้น สามารถช่วยป้องกันดูแลไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
2.ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกและให้ความร่วมมือในการดูแลตนเองและช่วยกันป้องกันไม่ให้มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก
3.พื้นที่เป้าหมายไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก


>